อิเหนา ศึกกะหมังกุหนิง แปล ถอดคำประพันธ์อิเหนาตอนศึกกะหมังกุหนิง


14,902 ผู้ชม


อิเหนา ศึกกะหมังกุหนิง แปล ถอดคำประพันธ์อิเหนาตอนศึกกะหมังกุหนิง

           อิเหนา ตอน ศึกกะหมังกุหนิง เริ่มมาจาก ท้าวกะหมังกุหนิงกับประไหมสุหรีมีโอรสชื่อ วิหยาสะกำ
ในคราวที่วิหยาสะกำออกประพาสป่า องค์ปะตาระกาหลาได้แปลงร่างเป็นกวางทองเพื่อล่อวิหยาสะกำมายัง
ต้นไทรที่พระองค์ซ่อนรูปวาดบุษบาไว้ เมื่อวิหยาสะกำเห็นรูปวาดของบุษบาก็หลงรักนางจนคลั่ง
ท้าวกะหมังกุหนิงสืบทราบว่านางคือบุษบา ธิดาท้าวดาหาที่ตอนนี้เป็นคู่หมั้นของจรกาแล้ว แต่ด้วยความรัก
และสงสารลูกจึงส่งทูตไปสู่ขอบุษบาให้วิหยาสะกำแต่เมื่อท้าวดาหาปฏิเสธท้าวกะหมังกุหนิง
จึงสั่งยกทัพมาเมืองดาหาเพื่อจะชิงตัวบุษบา
           ท้าวดาหาส่งพระราชสาส์นไปขอความช่วยเหลือจากท้าวกุเรปัน (พี่ชาย) ท้าวกาหลังและ
ท้าวสิงหัดส่าหรี (น้องชาย) และจรกาให้ยกทัพมาช่วยกันรบป้องกันเมืองดาหา
           เมื่อท้าวกุเรปันได้รับข่าวแล้วจึงให้ทหารนำจดหมายไปให้อิเหนาที่อยู่เมืองหมันหยา(เมืองจินตหรา)
อิเหนาไม่อยากไปแต่กลัวพ่อโกรธเลยต้องไป ในที่สุดอิเหนาก็ยกทัพมากับกะหรัดตะปาตี (พี่ชายคนละแม่)
ทำให้ท้าวดาหาดีใจมากเพราะเชื่อมั่นว่าอิเหนาต้องรบชนะแต่ด้วยความที่อิเหนาเคยทำให้ท้าวดาหาโกรธ
เรื่องปฏิเสธการแต่งงานกับบุษบาจนทำให้เกิดเรื่องขึ้นมาอิเหนาจึงตัดสินใจสู้รบให้ชนะก่อนแล้วค่อยเข้าไป
เฝ้าท้าวดาหา
           ในที่สุดเมื่อท้าวกะหมังกุหนิงยกทัพมาใกล้ดาหาทำให้เกิดการต่อสู้กับกองทัพของอิเหนา ในที่สุดสังคามาระตาก็เป็น
ผู้ฆ่าวิหยาสะกำ ส่วนอิเหนาเป็นผู้ฆ่าท้าวกะหมังกุหนิงตายในสนามรบด้วยกริชเทวา
           หลังจากนั้นท้าวปาหยันกับท้าวประหมัน (พี่กับน้องของท้าวกะหมังกุหนิง) ก็ยอมอ่อนน้อมต่ออิเหนา
อิเหนาจึงอนุญาตให้ระตูนำพระศพของทั้งสองกลับไปทำพิธีตามพระราชประเพณี


ประวัติผู้แต่ง
อิเหนา ศึกกะหมังกุหนิง แปล ถอดคำประพันธ์อิเหนาตอนศึกกะหมังกุหนิง

           พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงเป็นกษัตริย์ไทยพระองค์ที่ 2 แห่งราชวงศ์จักร
ทรงประสูติริมื่อ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2310 ตรงกับวันพุธ ขึ้น 7 ค่ำ เดือน 3 ปีกุน มีพระนามเดิมว่า “ฉิม
พระองค์ทรงเป็นพระบรมราชโอรสองค์ที่ 4 ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก
กับกรม สมเด็จพระอมรินทรามาตย์ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ประสูติ ณ บ้านอัมพวา แขวงเมืองสมุทรสงคราม ขณะนั้นพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า จุฬาโลกเป็นหลวงยกพระบัตรเมืองราชบุร
ี พ.ศ. 2325 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ได้ทรงปราบดาภิเษกเป็นปฐมกษัตริย์แห่ง
พระราชวงศ์จักรี ขณะนั้นพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงมีพระชนมายุ 16 พรรษา
พระราชบิดาจึงโปรดสถาปนาให้ดำรงพระยศเป็น สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศราสุนทร
ครั้งมี่พระชนมายุสมควรที่จะได้รับการอุปสมบท พระราชบิดาได้ทรงโปรดเกล้าฯ ให้อุปสมบท
วัดพระศรีรัตนศาสดาราม แล้วเสด็จไปจำพรรษา ณ วัดสมอราย
           ตลอดรัชกาลที่ 1 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยได้โดยเสด็จพระราชบิดา
ไปในการสงครามทุกครั้ง เมื่อพระชนมายุได้ 41 พรรษา พระราชบิดาได้ทรงสถาปนาให้ดำรงพระยศเป็น
พระมหาอุปราชกรมพระราชวังบวรสถานมงคล” ดำรงพระเกียรติยศเป็น พระมหาอุปราช อยู่ 3 ปี
ครั้งถึงปี พ.ศ. 2352 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกเสด็จสวรรคต พระองค์จึงเสด็จขึ้นครองราชย
์นับเป็นองค์ที่ 2 แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ ทรงพระนาม่า “พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
ทรงครองราชย์อยู่ 15 ปี ครังถึงปี พ.ศ. 2367 ได้เสด็จสวรรคต เมื่อพระชนมายุได้ 56 พรรษา กับ 5 เดือน
           พระบรมราชสัญลักษณ์ประจำรัชกาลที่ 2 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ใช้รูป ครุฑ
(ฉิมพลี เป็นชื่อวิมานพญาครุฑ ซึ่งพร้องกับชื่อเดิมของพระองค์ท่านว่า “ฉิม”)


ผลงานนักเรียน



โดย นาย กิตติพงษ์ บัวกลม
         นางสาว ทรงพร ตระกูลขจรศักดิ์
         นางสาว สรัญญา พินาธุวงค์



โดย นาย ธนภพ ณ นครพนม
         นาย พิทยภูมิ สิริเพาประดิษฐ์
         นาย ศุภวัชร์ จงขจรพงษ์



โดย นาย ณัฐพงศ์ อารัมภ์วิโรจน์
         นางสาว ธิราพร นิตินาวาการ
         นางสาว พนิดา พงษ์อัคคศิรา



โดย นางสาว มุกระวี รุ่งเพ็ชรวงศ์
         นางสาว สกนธรัตน์ พันธุ์ธนวิบูลย์
         นางสาว สาธิมา อรรคจันทร์



โดย นางสาว กนกทิพ ลี้ประกอบบุญ
         นาย กีรติ วัฒนายิ่งเจริญชัย
         นางสาว ชญาพร จรัสพงศ์พิสุทธิ์์
         นาย ทัศนพงษ์ ตั้งพัฒนาศิริ
         นาย ปรัชญ์ บุญญศาสตร์พันธุ์
         นางสาว วิภาพร งอยกุดจิก



โดย นางสาว จิดาภา อัครประเสริฐกุล
         นางสาว จิตพิสุทธิ์ ซาหมู่
         นางสาว ไรวดา อินทรักษา
         นาย วงศ์ตะวัน จันทร์เทวี
         นาย วิทวัส จงนิมิตรสถาพร
         นางสาว ศิรินันท์ มงคลสุวรรณ




โดย นางสาว กัญญาวีร์ พรศรีเมตต์
         นางสาว นวรัตน์ กาญจนสิทธิ์์
         นางสาว ปัณฑารีย์ บุญมา
         นาย เอกพงษ์ ตติรังสรรค์สุข



โดย นาย กฤษฎา มัจฉาธิคุณ
         นางสาว ชนิดา สมพงษ์
         นาย ฐาปกรณ์ มหธรรม
         นางสาว พิมพ์รัชนี ยิ่งดอน
         นาย ศิวพัชร ฤทธี



โดย นาย ชนะพล ป้อมสุวรรณ
         นาย ชนาธิป ลิ้มขจรเดช
         นางสาว พรสุดา ปลัดกอง
         นาย ลัภพงษ์ โพธิ์แท่น



โดย นางสาว กฤติยา น้อยโพนทอง
         นาย นำพล ลัญฉเวโรจน์
         นางสาว พิชชาพร พรรณวุฒิ
         นาย วทัญญู กนกปราน




โดย นางสาว จุฑารัตน์ อนุตระกูลชัย
         นางสาว นันทิยา สุพรรณฝ่าย
         นางสาว วิรากร ธนะกิตติภูมิ



โดย นาย กฤติน ประทีปพวงรัตน
         นาย ชวกร ภูมิแดง
         นางสาว พันธิตรา ทาราศรี
         นางสาว อธิพร เปรมกมล



โดย นางสาว เปมิกา ศิริศุภนนท์
         นาย พีรณัฐ จงรัก
         นางสาว วริษฐา รักษนคร


https://www.satit.kku.ac.th/~thai/e-learning/rhyme/i-naou/

อัพเดทล่าสุด