ภาษาไทยน่ารู้ : การใช้พยัญชนะ พยัญชนะไทยทั้งหมด ที่มาของพยัญชระไทย


1,630 ผู้ชม

ภาษาไทยมีพยัญชนะที่ใช้ทั้งหมด 44 ตัว  พยัญชนะเหล่านี้มีหลักในการใช้สะกดคำต่างกัน  โดยแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม


การใช้พยัญชนะ

การใช้พยัญชนะ
          ในภาษาไทยมีพยัญชนะที่ใช้ทั้งหมด 44 ตัว  พยัญชนะเหล่านี้มีหลักในการใช้สะกดคำต่างกัน  โดยแบ่งออกเป็น 3 กลุ่มดังนี้
                    พยัญชนะกลาง 21 ตัว  ก ข ค ง จ ฉ ช ต ถ ท น ป ผ พ ม ย ร ล ว ส ห
                    พยัญชนะเดิม 13 ตัว  ฆ ณ ญ ฏ ฐ ฒ ณ ธ ภ ฬ ศ ษ
                    พยัญชนะเติม 10 ตัว  ฃ ฅ ซ ฎ ด บ ฝ ฟ อ ฮ

          พยัญชนะกลาง  คือ  พยัญชนะที่ใช้คำทั้งคำไทยแท้  คำที่มาจากภาษาบาลี  สันสกฤตและภาษอื่น ๆ
          พยัญชนะเดิม  คือ  พยัญชนะที่ใช้สำหรับคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตและคำไทยบางคำ
          พยัญชนะเติม  คือ  พยัญชนะที่เขียนคำไทยแท้เป็นส่วนใหญ่  และคำที่มาจากภาษาบาลี  สันสกฤตบางคำ (เฉพาะตัว ฎ ด บ อ)  และคำที่มาจากภาษาอื่น

          1.  การใช้พยัญชนะต้น  คำที่ใช้ในภาษาไทยมีหลักในการสังเกต  ดังนี้
                    1.1  คำไทยแท้ใช้พยัญชนะต้นที่เป็นพยัญชนะกลางและเดิม  คำที่ใช้พยัญชนะกลาง  เช่น  กอง  ขัน  คิด  พาน  เรือ  ส่วนพยัญชนะเดิมมีใช้เพียงไม่กี่คำ  เช่น  เฆี่ยน  ฆ้อง  ระฆัง  ธง  เสภา  เศร้า  ศึก
                    1.2  คำที่มาจากภาษาอื่นที่ไม่ใช่ภาษาบาลีสันสกฤต  ใช้พยัญชนะเป็นพยัญชนะกลางและพยัญชนะเดิม  เช่น  ตำรวจ  คอมพิวเตอร์  เซนติเมตร  ไฮโดรเจน  แบงก์
                    1.3  คำที่มาจากภาษาบาลีสันสกฤต  ใช้พยัญชนะต้นเป็นพยัญชนะกลาง  พยัญชนะเดิมและพยัญชนะเติม  แต่ตัว ซ ฝ ฟ ฮ  ไม่มีใช้ในภาษาบาลีสันสกฤต  เช่น
                              พยัญชนะกลาง  ทิน  จารีต  นันท์  พาล  ราตรี  โลก  วิทยา  สตรี  เหตุ
                              พยัญชนะเดิม  ปัญญา  วุฒิ  กีฬา  ไพฑูรย์  อัชฌาสัย  ฐาน  ภาค  ธาตุ
          2.  การใช้พยัญชนะสะกด  มีหลักการสังเกต  ดังนี้
                    1.  คำไทยแท้  จะใช้พยัญชนะสะกดตรงตามมาตรา  เช่น  คง กิน ลม สาย ดาว ปาก งด จับ
                    2.  คำไทยที่มาจากภาษาเขมร  ภาษาบาลีสันสกฤตบางคำ  ใช้ตัวสะกดตรงตามมาตรา  เช่น
                              มาจากภาษาเขมร          เดิน (เดิร)  ประหยัด  กราบ  โปรด
                              มาจากภาษาบาลี           พน วน (ป่า)  ยาน  ธน  ชนนี  จินต์  สันติ
                              มาจากภาษาสันสกฤต     ศุกร์  ศานติ  สถาน  โศก  มนตร์
                              มาจากภาษาอื่น ๆ           เก๋ง  ตะเกียบ  แท็กซี่  คลินิก  แปลน
                    3.  คำไทยที่มาจากภาษาบาลีสันสกฤต  ในคำภาษาบาลีสันสกฤตบางคำตัวสะกดจะมีตัวตาม  ในภาษาไทยอาจรับมาเต็มรูปตัดตัวสะกด  หรือดัดแปลงรูป  เช่น
                              เต็มรูป  พุธ  อัคร  จักร  สมุทร  เกษตร  มิตร
                              ตัดตัวสะกด  วุฒิ (วุฑฺฒิ)  วัฒนะ (วฑฺฒน)  รัฐ (รฏฺฐ)  วัฏ (วัฏฺฏ)  วิชา (วิชฺชา)  อิสระ (อิสฺสระ)  วิสาสะ (วิสฺสาสะ)  อัต (อตฺต)
                              ดัดแปลงรูป  สถูป  (ป. ถูป,  ส. สฺตูป)
                    4.  คำไทยที่แผลงมาจากภาษาเขมร  เมื่อแผลงคำแล้วมักจะใช้ตัวสะกดเป็นตัวเดิม  เช่น
                              ตรวจ                    ตำรวจ
                              กราบ                    กำราบ
                              เสร็จ                    สำเร็จ
                              ตรัส                      ดำรัส
                    5.  คำไทยที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต  ที่มีตัวสะกดแม่  กน  กก  กด  กบ  อาจใช้ตัวสะกดได้หลายตัวตามรูปศัพท์เดิมในภาษาบาลีสันสกฤต  เช่น
                              แม่กน          พน  วิกล  พรรณ  บุญ  ภรณ์  กัณฐ์  กาล  การ  กาฬ  เมรุ
                              แม่กก          กนก  เลข  มุข  นาค  เมฆ  จักร  อัคร
                              แม่กด          นัดดา  คช  ครุฑ  รัฐ  รถ  เวท  อาพาธ  กฏ  ชาติ  เหตุ  ศูทร
                              แม่กบ          ลาภ  เทพ  บาป  ภพ  โลภ  วัลลภ  สาป

ที่มาและได้รับอนุญาตจาก :
บุญลักษณ์  เอี่ยมสำอางค์  เกื้อกมล  พฤกษประมูล และโสภิต  พิทักษ์. ภาษาไทย  หลักการใช้ภาษาและการใช้ภาษา ม.4. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์.

การใช้พยัญชนะ
          ในภาษาไทยมีพยัญชนะที่ใช้ทั้งหมด 44 ตัว  พยัญชนะเหล่านี้มีหลักในการใช้สะกดคำต่างกัน  โดยแบ่งออกเป็น 3 กลุ่มดังนี้
                    พยัญชนะกลาง 21 ตัว  ก ข ค ง จ ฉ ช ต ถ ท น ป ผ พ ม ย ร ล ว ส ห
                    พยัญชนะเดิม 13 ตัว  ฆ ณ ญ ฏ ฐ ฒ ณ ธ ภ ฬ ศ ษ
                    พยัญชนะเติม 10 ตัว  ฃ ฅ ซ ฎ ด บ ฝ ฟ อ ฮ

          พยัญชนะกลาง  คือ  พยัญชนะที่ใช้คำทั้งคำไทยแท้  คำที่มาจากภาษาบาลี  สันสกฤตและภาษอื่น ๆ
          พยัญชนะเดิม  คือ  พยัญชนะที่ใช้สำหรับคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตและคำไทยบางคำ
          พยัญชนะเติม  คือ  พยัญชนะที่เขียนคำไทยแท้เป็นส่วนใหญ่  และคำที่มาจากภาษาบาลี  สันสกฤตบางคำ (เฉพาะตัว ฎ ด บ อ)  และคำที่มาจากภาษาอื่น

          1.  การใช้พยัญชนะต้น  คำที่ใช้ในภาษาไทยมีหลักในการสังเกต  ดังนี้
                    1.1  คำไทยแท้ใช้พยัญชนะต้นที่เป็นพยัญชนะกลางและเดิม  คำที่ใช้พยัญชนะกลาง  เช่น  กอง  ขัน  คิด  พาน  เรือ  ส่วนพยัญชนะเดิมมีใช้เพียงไม่กี่คำ  เช่น  เฆี่ยน  ฆ้อง  ระฆัง  ธง  เสภา  เศร้า  ศึก
                    1.2  คำที่มาจากภาษาอื่นที่ไม่ใช่ภาษาบาลีสันสกฤต  ใช้พยัญชนะเป็นพยัญชนะกลางและพยัญชนะเดิม  เช่น  ตำรวจ  คอมพิวเตอร์  เซนติเมตร  ไฮโดรเจน  แบงก์
                    1.3  คำที่มาจากภาษาบาลีสันสกฤต  ใช้พยัญชนะต้นเป็นพยัญชนะกลาง  พยัญชนะเดิมและพยัญชนะเติม  แต่ตัว ซ ฝ ฟ ฮ  ไม่มีใช้ในภาษาบาลีสันสกฤต  เช่น
                              พยัญชนะกลาง  ทิน  จารีต  นันท์  พาล  ราตรี  โลก  วิทยา  สตรี  เหตุ
                              พยัญชนะเดิม  ปัญญา  วุฒิ  กีฬา  ไพฑูรย์  อัชฌาสัย  ฐาน  ภาค  ธาตุ
          2.  การใช้พยัญชนะสะกด  มีหลักการสังเกต  ดังนี้
                    1.  คำไทยแท้  จะใช้พยัญชนะสะกดตรงตามมาตรา  เช่น  คง กิน ลม สาย ดาว ปาก งด จับ
                    2.  คำไทยที่มาจากภาษาเขมร  ภาษาบาลีสันสกฤตบางคำ  ใช้ตัวสะกดตรงตามมาตรา  เช่น
                              มาจากภาษาเขมร          เดิน (เดิร)  ประหยัด  กราบ  โปรด
                              มาจากภาษาบาลี           พน วน (ป่า)  ยาน  ธน  ชนนี  จินต์  สันติ
                              มาจากภาษาสันสกฤต     ศุกร์  ศานติ  สถาน  โศก  มนตร์
                              มาจากภาษาอื่น ๆ           เก๋ง  ตะเกียบ  แท็กซี่  คลินิก  แปลน
                    3.  คำไทยที่มาจากภาษาบาลีสันสกฤต  ในคำภาษาบาลีสันสกฤตบางคำตัวสะกดจะมีตัวตาม  ในภาษาไทยอาจรับมาเต็มรูปตัดตัวสะกด  หรือดัดแปลงรูป  เช่น
                              เต็มรูป  พุธ  อัคร  จักร  สมุทร  เกษตร  มิตร
                              ตัดตัวสะกด  วุฒิ (วุฑฺฒิ)  วัฒนะ (วฑฺฒน)  รัฐ (รฏฺฐ)  วัฏ (วัฏฺฏ)  วิชา (วิชฺชา)  อิสระ (อิสฺสระ)  วิสาสะ (วิสฺสาสะ)  อัต (อตฺต)
                              ดัดแปลงรูป  สถูป  (ป. ถูป,  ส. สฺตูป)
                    4.  คำไทยที่แผลงมาจากภาษาเขมร  เมื่อแผลงคำแล้วมักจะใช้ตัวสะกดเป็นตัวเดิม  เช่น
                              ตรวจ                    ตำรวจ
                              กราบ                    กำราบ
                              เสร็จ                    สำเร็จ
                              ตรัส                      ดำรัส
                    5.  คำไทยที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต  ที่มีตัวสะกดแม่  กน  กก  กด  กบ  อาจใช้ตัวสะกดได้หลายตัวตามรูปศัพท์เดิมในภาษาบาลีสันสกฤต  เช่น
                              แม่กน          พน  วิกล  พรรณ  บุญ  ภรณ์  กัณฐ์  กาล  การ  กาฬ  เมรุ
                              แม่กก          กนก  เลข  มุข  นาค  เมฆ  จักร  อัคร
                              แม่กด          นัดดา  คช  ครุฑ  รัฐ  รถ  เวท  อาพาธ  กฏ  ชาติ  เหตุ  ศูทร
                              แม่กบ          ลาภ  เทพ  บาป  ภพ  โลภ  วัลลภ  สาป

ที่มาและได้รับอนุญาตจาก :
บุญลักษณ์  เอี่ยมสำอางค์  เกื้อกมล  พฤกษประมูล และโสภิต  พิทักษ์. ภาษาไทย  หลักการใช้ภาษาและการใช้ภาษา ม.4. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์.

การใช้พยัญชนะ
          ในภาษาไทยมีพยัญชนะที่ใช้ทั้งหมด 44 ตัว  พยัญชนะเหล่านี้มีหลักในการใช้สะกดคำต่างกัน  โดยแบ่งออกเป็น 3 กลุ่มดังนี้
                    พยัญชนะกลาง 21 ตัว  ก ข ค ง จ ฉ ช ต ถ ท น ป ผ พ ม ย ร ล ว ส ห
                    พยัญชนะเดิม 13 ตัว  ฆ ณ ญ ฏ ฐ ฒ ณ ธ ภ ฬ ศ ษ
                    พยัญชนะเติม 10 ตัว  ฃ ฅ ซ ฎ ด บ ฝ ฟ อ ฮ

          พยัญชนะกลาง  คือ  พยัญชนะที่ใช้คำทั้งคำไทยแท้  คำที่มาจากภาษาบาลี  สันสกฤตและภาษอื่น ๆ
          พยัญชนะเดิม  คือ  พยัญชนะที่ใช้สำหรับคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตและคำไทยบางคำ
          พยัญชนะเติม  คือ  พยัญชนะที่เขียนคำไทยแท้เป็นส่วนใหญ่  และคำที่มาจากภาษาบาลี  สันสกฤตบางคำ (เฉพาะตัว ฎ ด บ อ)  และคำที่มาจากภาษาอื่น

          1.  การใช้พยัญชนะต้น  คำที่ใช้ในภาษาไทยมีหลักในการสังเกต  ดังนี้
                    1.1  คำไทยแท้ใช้พยัญชนะต้นที่เป็นพยัญชนะกลางและเดิม  คำที่ใช้พยัญชนะกลาง  เช่น  กอง  ขัน  คิด  พาน  เรือ  ส่วนพยัญชนะเดิมมีใช้เพียงไม่กี่คำ  เช่น  เฆี่ยน  ฆ้อง  ระฆัง  ธง  เสภา  เศร้า  ศึก
                    1.2  คำที่มาจากภาษาอื่นที่ไม่ใช่ภาษาบาลีสันสกฤต  ใช้พยัญชนะเป็นพยัญชนะกลางและพยัญชนะเดิม  เช่น  ตำรวจ  คอมพิวเตอร์  เซนติเมตร  ไฮโดรเจน  แบงก์
                    1.3  คำที่มาจากภาษาบาลีสันสกฤต  ใช้พยัญชนะต้นเป็นพยัญชนะกลาง  พยัญชนะเดิมและพยัญชนะเติม  แต่ตัว ซ ฝ ฟ ฮ  ไม่มีใช้ในภาษาบาลีสันสกฤต  เช่น
                              พยัญชนะกลาง  ทิน  จารีต  นันท์  พาล  ราตรี  โลก  วิทยา  สตรี  เหตุ
                              พยัญชนะเดิม  ปัญญา  วุฒิ  กีฬา  ไพฑูรย์  อัชฌาสัย  ฐาน  ภาค  ธาตุ
          2.  การใช้พยัญชนะสะกด  มีหลักการสังเกต  ดังนี้
                    1.  คำไทยแท้  จะใช้พยัญชนะสะกดตรงตามมาตรา  เช่น  คง กิน ลม สาย ดาว ปาก งด จับ
                    2.  คำไทยที่มาจากภาษาเขมร  ภาษาบาลีสันสกฤตบางคำ  ใช้ตัวสะกดตรงตามมาตรา  เช่น
                              มาจากภาษาเขมร          เดิน (เดิร)  ประหยัด  กราบ  โปรด
                              มาจากภาษาบาลี           พน วน (ป่า)  ยาน  ธน  ชนนี  จินต์  สันติ
                              มาจากภาษาสันสกฤต     ศุกร์  ศานติ  สถาน  โศก  มนตร์
                              มาจากภาษาอื่น ๆ           เก๋ง  ตะเกียบ  แท็กซี่  คลินิก  แปลน
                    3.  คำไทยที่มาจากภาษาบาลีสันสกฤต  ในคำภาษาบาลีสันสกฤตบางคำตัวสะกดจะมีตัวตาม  ในภาษาไทยอาจรับมาเต็มรูปตัดตัวสะกด  หรือดัดแปลงรูป  เช่น
                              เต็มรูป  พุธ  อัคร  จักร  สมุทร  เกษตร  มิตร
                              ตัดตัวสะกด  วุฒิ (วุฑฺฒิ)  วัฒนะ (วฑฺฒน)  รัฐ (รฏฺฐ)  วัฏ (วัฏฺฏ)  วิชา (วิชฺชา)  อิสระ (อิสฺสระ)  วิสาสะ (วิสฺสาสะ)  อัต (อตฺต)
                              ดัดแปลงรูป  สถูป  (ป. ถูป,  ส. สฺตูป)
                    4.  คำไทยที่แผลงมาจากภาษาเขมร  เมื่อแผลงคำแล้วมักจะใช้ตัวสะกดเป็นตัวเดิม  เช่น
                              ตรวจ                    ตำรวจ
                              กราบ                    กำราบ
                              เสร็จ                    สำเร็จ
                              ตรัส                      ดำรัส
                    5.  คำไทยที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต  ที่มีตัวสะกดแม่  กน  กก  กด  กบ  อาจใช้ตัวสะกดได้หลายตัวตามรูปศัพท์เดิมในภาษาบาลีสันสกฤต  เช่น
                              แม่กน          พน  วิกล  พรรณ  บุญ  ภรณ์  กัณฐ์  กาล  การ  กาฬ  เมรุ
                              แม่กก          กนก  เลข  มุข  นาค  เมฆ  จักร  อัคร
                              แม่กด          นัดดา  คช  ครุฑ  รัฐ  รถ  เวท  อาพาธ  กฏ  ชาติ  เหตุ  ศูทร
                              แม่กบ          ลาภ  เทพ  บาป  ภพ  โลภ  วัลลภ  สาป

ที่มาและได้รับอนุญาตจาก :
บุญลักษณ์  เอี่ยมสำอางค์  เกื้อกมล  พฤกษประมูล และโสภิต  พิทักษ์. ภาษาไทย  หลักการใช้ภาษาและการใช้ภาษา ม.4. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์.

การใช้พยัญชนะ
          ในภาษาไทยมีพยัญชนะที่ใช้ทั้งหมด 44 ตัว  พยัญชนะเหล่านี้มีหลักในการใช้สะกดคำต่างกัน  โดยแบ่งออกเป็น 3 กลุ่มดังนี้
                    พยัญชนะกลาง 21 ตัว  ก ข ค ง จ ฉ ช ต ถ ท น ป ผ พ ม ย ร ล ว ส ห
                    พยัญชนะเดิม 13 ตัว  ฆ ณ ญ ฏ ฐ ฒ ณ ธ ภ ฬ ศ ษ
                    พยัญชนะเติม 10 ตัว  ฃ ฅ ซ ฎ ด บ ฝ ฟ อ ฮ

          พยัญชนะกลาง  คือ  พยัญชนะที่ใช้คำทั้งคำไทยแท้  คำที่มาจากภาษาบาลี  สันสกฤตและภาษอื่น ๆ
          พยัญชนะเดิม  คือ  พยัญชนะที่ใช้สำหรับคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตและคำไทยบางคำ
          พยัญชนะเติม  คือ  พยัญชนะที่เขียนคำไทยแท้เป็นส่วนใหญ่  และคำที่มาจากภาษาบาลี  สันสกฤตบางคำ (เฉพาะตัว ฎ ด บ อ)  และคำที่มาจากภาษาอื่น

          1.  การใช้พยัญชนะต้น  คำที่ใช้ในภาษาไทยมีหลักในการสังเกต  ดังนี้
                    1.1  คำไทยแท้ใช้พยัญชนะต้นที่เป็นพยัญชนะกลางและเดิม  คำที่ใช้พยัญชนะกลาง  เช่น  กอง  ขัน  คิด  พาน  เรือ  ส่วนพยัญชนะเดิมมีใช้เพียงไม่กี่คำ  เช่น  เฆี่ยน  ฆ้อง  ระฆัง  ธง  เสภา  เศร้า  ศึก
                    1.2  คำที่มาจากภาษาอื่นที่ไม่ใช่ภาษาบาลีสันสกฤต  ใช้พยัญชนะเป็นพยัญชนะกลางและพยัญชนะเดิม  เช่น  ตำรวจ  คอมพิวเตอร์  เซนติเมตร  ไฮโดรเจน  แบงก์
                    1.3  คำที่มาจากภาษาบาลีสันสกฤต  ใช้พยัญชนะต้นเป็นพยัญชนะกลาง  พยัญชนะเดิมและพยัญชนะเติม  แต่ตัว ซ ฝ ฟ ฮ  ไม่มีใช้ในภาษาบาลีสันสกฤต  เช่น
                              พยัญชนะกลาง  ทิน  จารีต  นันท์  พาล  ราตรี  โลก  วิทยา  สตรี  เหตุ
                              พยัญชนะเดิม  ปัญญา  วุฒิ  กีฬา  ไพฑูรย์  อัชฌาสัย  ฐาน  ภาค  ธาตุ
          2.  การใช้พยัญชนะสะกด  มีหลักการสังเกต  ดังนี้
                    1.  คำไทยแท้  จะใช้พยัญชนะสะกดตรงตามมาตรา  เช่น  คง กิน ลม สาย ดาว ปาก งด จับ
                    2.  คำไทยที่มาจากภาษาเขมร  ภาษาบาลีสันสกฤตบางคำ  ใช้ตัวสะกดตรงตามมาตรา  เช่น
                              มาจากภาษาเขมร          เดิน (เดิร)  ประหยัด  กราบ  โปรด
                              มาจากภาษาบาลี           พน วน (ป่า)  ยาน  ธน  ชนนี  จินต์  สันติ
                              มาจากภาษาสันสกฤต     ศุกร์  ศานติ  สถาน  โศก  มนตร์
                              มาจากภาษาอื่น ๆ           เก๋ง  ตะเกียบ  แท็กซี่  คลินิก  แปลน
                    3.  คำไทยที่มาจากภาษาบาลีสันสกฤต  ในคำภาษาบาลีสันสกฤตบางคำตัวสะกดจะมีตัวตาม  ในภาษาไทยอาจรับมาเต็มรูปตัดตัวสะกด  หรือดัดแปลงรูป  เช่น
                              เต็มรูป  พุธ  อัคร  จักร  สมุทร  เกษตร  มิตร
                              ตัดตัวสะกด  วุฒิ (วุฑฺฒิ)  วัฒนะ (วฑฺฒน)  รัฐ (รฏฺฐ)  วัฏ (วัฏฺฏ)  วิชา (วิชฺชา)  อิสระ (อิสฺสระ)  วิสาสะ (วิสฺสาสะ)  อัต (อตฺต)
                              ดัดแปลงรูป  สถูป  (ป. ถูป,  ส. สฺตูป)
                    4.  คำไทยที่แผลงมาจากภาษาเขมร  เมื่อแผลงคำแล้วมักจะใช้ตัวสะกดเป็นตัวเดิม  เช่น
                              ตรวจ                    ตำรวจ
                              กราบ                    กำราบ
                              เสร็จ                    สำเร็จ
                              ตรัส                      ดำรัส
                    5.  คำไทยที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต  ที่มีตัวสะกดแม่  กน  กก  กด  กบ  อาจใช้ตัวสะกดได้หลายตัวตามรูปศัพท์เดิมในภาษาบาลีสันสกฤต  เช่น
                              แม่กน          พน  วิกล  พรรณ  บุญ  ภรณ์  กัณฐ์  กาล  การ  กาฬ  เมรุ
                              แม่กก          กนก  เลข  มุข  นาค  เมฆ  จักร  อัคร
                              แม่กด          นัดดา  คช  ครุฑ  รัฐ  รถ  เวท  อาพาธ  กฏ  ชาติ  เหตุ  ศูทร
                              แม่กบ          ลาภ  เทพ  บาป  ภพ  โลภ  วัลลภ  สาป

ที่มาและได้รับอนุญาตจาก :
บุญลักษณ์  เอี่ยมสำอางค์  เกื้อกมล  พฤกษประมูล และโสภิต  พิทักษ์. ภาษาไทย  หลักการใช้ภาษาและการใช้ภาษา ม.4. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์.

อัพเดทล่าสุด