ขั้นตอนที่ 1 ราคาของตัวเครื่อง และเมื่อเทียบกับความสามารถใ นการฟอกอากาศ โดยดูที่ปริมาตรอากาศเป็นลูกบาศก์ ฟุตต่อนาที หรือซีเอฟเอ็มแล้ว ระบบตัวรวบรวมฝุ่ นไฟฟ้าสถิตควรเทียบที่ปริมาตรอากาศต่ำสุด เพราะ ระบบนี้ความเร็วลมต่ำสุดจะให้เกิดประสิทธิภาพสู งสุด |
ขั้นตอนที่ 2 ค่าบำรุงรักษา เช่น ราคาแผ่นกรองไฟฟ้าสถิต,ราคา แผ่นกรองละเอียด (HEPA)และเข็มยิงประจุ เทียบกั บระยะเวลาที่ต้องเปลี่ยน เพราะบางระบบค่าบำรุงรั กษาภายในปีเดียว อาจสูงกว่าราคาตัวเครื่อง |
ขั้นตอนที่ 3 เลือกประเภทของเครื่อง ให้ตรงตามลักษณะการใช้งา น หรือลักษณะมลภาวะ เนื่องจากลักษณะมลภาวะ หรือ ชนิด,ปริมาณ,ความเข้มข้น และความรุนแรงของอากาศ เสียเป็นตัวกำหนด ความจำเป็นที่ต้องใช้ ประเภท ขนาด และประสิทธิภาพของเครื่องฟอกอากาศ ทั้งนี้ หากมลภาวะเป็นแก๊ส การดักจับ หรือทำลายจะใช้แอ คทิเวเทท (Activated) หรืออิมเพรคนาเทท ชาร์โคล ล์ (Impregnated Charcoal) ที่มีมลภาวะเป็นอนุภ าค (พาร์ทิเคิล) ก็ควรเลือกใช้ระบบเติมประจุ,แผ ่นกรองไฟฟ้าสถิตตัวรวบรวมฝุ่นไฟฟ้าสถิต และเอพ้ า ฟิลเตอร์(HEPA Filter) นอกจากนั้นหากมลภาวะมี ปริมาณมาก หรือเข้มข้นสูงก็สามารถนำมาใช้เป็นตั วกำหนดขนาดเครื่องหรือปริมาตรอากาศที่แท้จริงได้ เช่น ความเข้มข้นที่ต่างกันมลภาวะในห้องนอนกับใ นห้องทดลอง |
|