รักษา ริดสีดวง ภายนอก - วิธีรักษาริดสีดวงภายนอก ให้หาย


1,381 ผู้ชม


ฤทธิ์ของ ริดสีดวง ทวารหนัก

รักษา ริดสีดวง ภายนอก  - วิธีรักษาริดสีดวงภายนอก ให้หาย
โรค ริดสีดวง ทวารหนัก


ฤทธิ์ของ...ริดสีดวงทวารหนัก (ไทยรัฐ)
ข้อมูลจากโรงพยาบาลเวชธานี
          ถ่าย เป็นเลือด!! อาการเด่นชัดอย่างหนึ่งของโรคริดสีดวงทวารหนักที่มักทำให้ผู้ที่เป็นตื่น ตระหนกตกใจ  และสร้างความทุกข์ทรมานอย่างมากแก่ผู้ป่วยทั้งชายและหญิงที่มีอาการท้องผูก และไม่นิยมดื่มน้ำ พบได้ตั้งแต่ช่วงอายุ 20 – 30 ปี อาการเริ่มแรกมักจะเป็นๆ หายๆ และจะรุนแรงขึ้นในช่วงอายุประมาณ 40-50 ปี

          สาเหตุ การเกิด โรคริดสีดวงทวารหนัก ที่แท้จริงยังไม่ทราบแน่ชัด แต่มีความสัมพันธ์กับการเบ่งถ่ายรุนแรงและเรื้อรัง เนื่องจากท้องผูกหรือท้องเสียเรื้อรัง การยืนนาน การยกของหนัก การมีครรภ์ ภาวะเหล่านี้สามารถทำให้เลือดคั่งในเส้นเลือดดำที่ผนังรูทวาร ส่งผลให้กลุ่มเส้นเลือดและเนื้อเยื่อบริเวณส่วนปลายของลำไส้โตขึ้น ซึ่งปกติจะมีหน้าที่ป้องกันกล้ามเนื้อของทวารหนัก รวมทั้งหูรูดระหว่างขับถ่ายอุจจาระ และช่วยให้ทวารหนักปิดได้สนิทในขณะที่เราอยู่เฉย
อาการสำคัญของ ริดสีดวงทวารหนัก
          รักษา ริดสีดวง ภายนอก  - วิธีรักษาริดสีดวงภายนอก ให้หาย ถ่ายเป็นเลือดสีแดงสดหรือพุ่งออกมาขณะเบ่งถ่ายอุจจาระและหมดไปเมื่อหยุดเบ่ง
          รักษา ริดสีดวง ภายนอก  - วิธีรักษาริดสีดวงภายนอก ให้หาย มีก้อนปลิ้นออกมาเวลาเบ่งถ่าย
          รักษา ริดสีดวง ภายนอก  - วิธีรักษาริดสีดวงภายนอก ให้หาย ก้นแฉะและคันก้น
          รักษา ริดสีดวง ภายนอก  - วิธีรักษาริดสีดวงภายนอก ให้หาย มีก้อนออกมาคาบริเวณทวารหนักและปวด
ปัจจัยที่ทำให้เกิด ริดสีดวงทวารหนัก

          ท้องผูกเรื้อรัง ท้องเสียถ่ายอุจจาระบ่อยๆ นิสัยเบ่งอุจจาระมาก เพื่อพยายามเอาอุจจาระก้อนสุดท้ายออก ชอบนั่งถ่ายนานๆ เช่น อ่านหนังสือไปด้วย ชอบใช้ยาสวนหรือยาระบายพร่ำเพรื่อ หญิงตั้งครรภ์ ภาวะตับแข็ง อายุมากขึ้น ด้วยสาเหตุเหล่านี้ทำให้มีโอกาสที่กลุ่มเส้นเลือดและเนื้อเยื่อบริเวณส่วน ปลายลำไส้โตและยืดออก ซึ่งการที่มีเลือดออกนั้นเกิดจากการบาดเจ็บของเส้นเลือดบริเวณดังกล่าว กรณีที่พบบ่อยมักมาจากอุจจาระที่แข็งมากๆ ร่วมกับการเบ่งนานๆ ทำให้มีเลือดสดๆ ไหลออกจากทวารหนักได้
ริดสีดวงแบ่งออกได้เป็น 2 แบบ ดังนี้

          ริดสีดวงภายใน ริดสีดวงภายในจะอยู่ภายในทวาร โดยสามารถแบ่งออกได้เป็น 4 ระยะ ดังนี้
          รักษา ริดสีดวง ภายนอก  - วิธีรักษาริดสีดวงภายนอก ให้หาย ระยะที่ 1 หัวริดสีดวงยังอยู่ภายในทวารหนัก มีอาการเลือดออกเพียงอย่างเดียว
          รักษา ริดสีดวง ภายนอก  - วิธีรักษาริดสีดวงภายนอก ให้หาย ระยะที่ 2 หัวริดสีดวงยื่นออกมานอกทวารหนักเวลาเบ่งและเลื่อนกลับเข้าได้เองเมื่อหยุดเบ่ง
          รักษา ริดสีดวง ภายนอก  - วิธีรักษาริดสีดวงภายนอก ให้หาย ระยะที่ 3 หัวริดสีดวงยื่นออกมาเวลาเบ่งและต้องดันกลับเข้าไปในทวารหนัก
          รักษา ริดสีดวง ภายนอก  - วิธีรักษาริดสีดวงภายนอก ให้หาย ระยะที่ 4 หัวริดสีดวงโตมากและยื่นออกมาอยู่นอกทวารหนักตลอดเวลา ไม่สามารถดันกลับเข้าไปในทวารหนักได้
แนวทางในการรักษา ริดสีดวงทวารหนัก

          การรักษาจะมุ่งระงับอาการมากกว่าที่จะขจัดหัวริดสีดวงให้หมดไป การผ่าตัดจำเป็นในรายที่มีข้อบ่งชี้ชัดเจนเท่านั้น
การรักษาทั่วไป 
          ดูแลการขับถ่ายให้เป็นปกติ หมั่นออกกำลังกาย ดื่มน้ำให้เพียงพอ รับประทานผักและผลไม้จะช่วยให้ขับถ่ายได้สะดวกขึ้น ถ้าก้นแฉะหรือชื้นต้องหมั่นล้างและเช็ดให้แห้ง ไม่ควรใช้น้ำยาฆ่าเชื้อมาเช็ดล้างทวารหนักเพราะจะทำให้อักเสบได้ ระวังการดื่มของมึนเมา เช่น เหล้า เบียร์ ซึ่งอาจทำให้หัวริดสีดวงพองมากขึ้น
การรักษาแบบเฉพาะเจาะจง มีหลายวิธี เช่น
          รักษา ริดสีดวง ภายนอก  - วิธีรักษาริดสีดวงภายนอก ให้หาย การฉีดยา เพื่อทําให้หัวริดสีดวงยุบลง โดยฉีดยาเข้าไปในชั้นใต้เยื่อบุทําให้เกิดพังผืดรัดหลอดเลือดบริเวณริดสีดวง และรั้งเนื้อเยื่อริดสีดวงไม่ให้เลื่อนตัวลงมา ใช้กับผู้ป่วยที่มีเลือดออกและหัวริดสีดวงยื่นออกมาไม่มาก แพทย์จะทำการฉีดยาทุก 2-4 สัปดาห์จนอาการทุเลา ผลข้างเคียงอาจทําให้เวียนศีรษะและระคายเคืองทวารหนักเป็นระยะเวลาสั้นๆ ได้
          รักษา ริดสีดวง ภายนอก  - วิธีรักษาริดสีดวงภายนอก ให้หาย การใช้ยางรัด จะใช้ในกรณีที่หัวริดสีดวงที่ยื่นออกมามีขั้วขนาดเหมาะที่จะรัดได้ เพื่อให้หัวริดสีดวงหลุดออก และพังผืดที่เกิดจากแผลจะรั้งริดสีดวงที่เหลือให้หดกลับเข้าไปในทวารหนัก ไม่ควรทําในรายที่มีภูมิคุ้มกันผิดปกติ หรือมีภาวะการแข็งตัวของเลือดผิดปกติ ถ้ามีอาการเจ็บมากควรเอายางที่รัดออกทันที ผลข้างเคียงหลังการรัดอาจมีอาการระคายเคืองหรือปวดถ่วงในทวารหนัก แต่อาการไม่รุนแรงมากนักและกินเวลานานประมาณ 24-48 ชั่วโมง บรรเทาโดยให้ยาระงับปวด เมื่อหัวริดสีดวงหลุดจะมีเลือดออกประมาณ 3-7 วัน แต่มักออกไม่มากและหยุดได้เอง ข้อพึงระวังคือหัวริดสีดวงอาจอักเสบ บวม เจ็บ และยื่นออกมาได้หรืออาจเกิดภาวะติดเชื้อบริเวณทวารหนักซึ่งเกิดขึ้นได้น้อย มาก โดยผู้ป่วยจะมีอาการปวดบริเวณทวารหนัก มีไข้สูง และปัสสาวะไม่ออก ภาวะเช่นนี้อาจรุนแรงมากจนผู้ป่วยถึงแก่กรรมได้ ควรรีบนำผู้ป่วยเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
          รักษา ริดสีดวง ภายนอก  - วิธีรักษาริดสีดวงภายนอก ให้หาย การจี้ริดสีดวงทวารด้วยอินฟราเรด เพื่อให้ริดสีดวงทวารยุบลงและหยุดอาการเลือดออก ทำในกรณีที่ริดสีดวงยังอยู่ในระยะที่ 1 และ 2 หลังการจี้ 1-2 สัปดาห์อาจมีผลข้างเคียงคือมีเลือดออกจากแผลได้ แต่จะไม่มากและสามารถหยุดได้เอง
การผ่าตัด
          การผ่าตัดใช้หลักในการตัดเนื้อเยื่อทวารหนักส่วนเกิน และเย็บดึงรั้งริดสีดวงทวารส่วนที่เหลือขึ้นไปในทวารหนัก การรักษาโดยการผ่าตัดจะทำก็ต่อเมื่อหัวริดสีดวงใหญ่และยื่นออกมา หรือตั้งแต่ระยะที่ 3 เป็นต้นไป อาจเสริมด้วยการตกแต่งขอบทวารหนัก เช่น ตัดติ่งหนัง หรือขยายปากทวาร หรือตกแต่งแผลที่มีร่วมด้วย หลังผ่าตัดจะได้รับยาแก้ปวดและยาช่วยให้อุจจาระไม่แข็งมาก ควรแช่น้ำอุ่นจะทำให้กล้ามเนื้อหูรูดคลายเกร็งและทุเลาปวดได้
          นอกจากนี้ ปัจจุบันยังมีการรักษาโดยการเย็บหลอดเลือดที่วิ่งมาที่หัวริดสีดวงทวารหนัก โดยใช้เครื่องตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง (Doppler Ultrasound) เข้ามาช่วย และถ้าเป็นระยะที่ 3 ซึ่งมีก้อนยื่นออกมา ก็สามารถเย็บหัวริดสีดวงเข้าไปด้านใน โดยไม่มีการตัดเนื้อเยื่อออก ทำให้ไม่เจ็บเหมือนการตัดหัวริดสีดวงออก ซึ่งผลข้างเคียงน้อยและไม่รุนแรงเหมือนการตัดด้วยเครื่องมือตัดเย็บหัว ริดสีดวงที่เรียกว่า Hemorrhoid Stapler
ริดสีดวงภายนอก
          ริดสีดวงภายนอกเป็นเส้นเลือดดำที่อยู่รอบริมปากทวารหนักที่พองออกเวลาเบ่ง ถ่ายอุจจาระ และจะยุบลงเมื่อหยุดเบ่ง จะมีปัญหาก็ต่อเมื่อเกิดลิ่มเลือดที่ทำให้เส้นเลือดอุดตัน และเกิดเป็นตุ่มแข็งที่ขอบทวารหนักหลังถ่ายอุจจาระ จะทำให้เจ็บมากภายใน 3 – 4 วันแรก และถ้าปล่อยไว้อาจแตกมีเลือดซึมหรือมีก้อนเลือดหลุดออกมาหรือยุบลงจนเป็น ปกติภายใน 2 สัปดาห์ บางรายจะยุบไม่หมดทำให้ผิวหนังขอบทวารหนักแข็งนูนออกเป็นติ่ง
แนวทางในการรักษา 

          ถ้าเป็นก้อนเล็กและไม่เจ็บมากก็ไม่จำเป็นต้องรักษาด้วยการผ่าตัด แต่ถ้าเป็นก้อนใหญ่และเจ็บมากควรผ่าเอาก้อนเลือดที่คั่งออกโดยใช้ยาชาฉีด เฉพาะที่  ซึ่งผู้ป่วยไม่ต้องนอนโรงพยาบาล

ที่มา  health.kapook.com

อัพเดทล่าสุด