มาตราตัวสะกด มาตราตัวสะกด หมายถึง พยัญชนะที่ประสมข้างหลังพยางค์หรือคำ ซึ่งมาตราตัวสะกดในภาษาไทย มี ๘ มาตราได้แก่
1. มาตรา กง มีพยัญชนะ ง สะกด |
2. มาตรา กม มีพยัญชนะ ม สะกด |
3. มาตรา เกย มีพยัญชนะ ย สะกด |
4. มาตรา เกอว มีพยัญชนะ ว สะกด |
5. มาตรา กก มีพยัญชนะ ก ข ค ฆ สะกด |
6. มาตรากบ มีพยัญชนะบ ป พ ฟ ภ สะกด |
7. มาตรา กน มีพยัญชนะ น ญ ณ ร ล ฬ สะกด |
8. มาตรา กด มีพยัญชนะ จ ฉ ช ซ ฌ ฏ ฎ ฐ ฑ ฒ ด ต ถ ท ธ ศ ษ ส สะกด |
และอีกหนึ่งมาตราคือ แม่ ก กา |
1.มาตรากง หรือแม่กง เป็นคำที่ประสมกับประสมกับสระต่างๆและมี ง เป็นตัวสะกด เช่น คาง เสียง พิง โรง
สระ - ะ | กัง | ขัง | ชัง | พัง |
สระ -า | กาง | ขาง | วาง | นาง |
สระ -ิ | ชิง | ขิง | ผิง | พิง |
สระ เ-ะ | เต็ง | เอ็ง | เซ็ง | เล็ง |
สระ เ-อ | เกิง | เชิง | เพิง | เริง |
สระ โ- | โกง | โตง | โยง | โรง |
สระ เ- | เกง | เอง | เนง | เวง |
สระ -อ | กอง | ของ | จอง | พอง |
สระ -ุ | ฉุน | ชุน | ดุน | หุน |
2.มาตรากม หรือ แม่กม เป็นคำที่ประสมกับสระต่างและมี ม เป็นตัวสะกด เช่น จาม เสียม ผม คีม เข็ม
สระ - ะ | กัม | ฮัม | นัม | สัม |
สระ -า | สาม | ขาม | ยาม | นาม |
สระ -ิ | ชิม | ขิม | ติม | พิม |
สระ เ-ะ | เต็ม | เอ็ม | เค็ม | เล็ม |
สระ เ-อ | เริม | เจิม | เหิม | เริม |
สระ โ- | โดม | โสม | โยม | โรม |
สระ เ- | เกม | เอม | เนม | เจม |
สระ -อ | กอม | ขอม | จอม | พอม |
สระ -ุ | สุม | ชุม | ดุม | รุม |
3.มาตราเกยหรือแม่เกย เป็นคำที่ประสมกับสระต่างๆและมี ย เป็นตัวสะกดเช่น อ้อย ยาย คอย สวย
4.มาตราแม่เกอว หรือ แม่เกอว เป็นคำที่ประสมกับสระต่างๆ และมี ว เป็นตัวสะกด เช่น คาว แก้ว เที่ยว นิ้ว
5.มาตรากก หรือ แม่กก เป็นคำที่ประสมกับสระต่างๆ และมี ก เป็นตัวสะกด เช่น ผัก นก เลือก นอกจากนี้ คที่ประสมสระต่างๆ และมี ข ค ฆ เป็นตัวสะกดและอ่านอ่านออกเสียงอย่าง ก สะกด ก็เป็นคำในมาตรากก หรือแม่กกด้วย เช่น สุนัข โชค เมฆ
แม่กก มีตัวสะกดที่ตรงมาตราทั้งหมด ๕ตัว คือ ข ค ฆ กร คร เวลาอ่าน จะออกเสียงเหมือนมีตัว ก สะกดดังตัวอย่าง ข เช่น เลข สุนัข อบายมุข ความสุข ค เช่น ภาค โรค นาค บริจาค วิหค พรรค โชค ฆ เช่น เมฆ กรเช่น จักร ครเช่น สมัคร คำที่มี ข ค ฆ เป็นตัวสะกด เป็นคำในมาตรา แม่กก อ่าน ออกเสียง ก สะกด เทคโนโลยี เชื้อโรค ยุคใหม่ เมฆฝน เครื่องคิดเลข 1. ตรงตามมาตรา สะกดด้วย น เช่น นอน บิน 2. ไม่ตรงตามมาตรา สะกดด้วย ข ค ฆ แต่ออกเสียง ก สะกดเช่น ข สะกด สุข อ่านว่า สุก ค สะกด โรค อ่านว่า โรก ฆ สะกด เมฆ อ่านว่า เมก สุนัข อ่านว่า สุ-นัก พรรค อ่านว่า พัก |
6.มาตรากบ หรือ แม่กบ เป็นคำที่ประสมกับสระต่างๆ และมี บ เป็นตัวสะกด เช่น สิบ โอบนอกจากนี้ คำที่ปผระสมต่างๆ และมี ป บ พ ฟภ เป็นตัวสะกดและอ่านออกเสียงอย่าง บ สะกด ก็เป็นคำในมาตรากบ หรือแม่กบด้วย เช่น รูปภาพ ยีราฟ ลาภ
แม่กบ คำที่มี ป พ ภ เป็นตัวสะกด อ่านออกเสียงเหมือน บ สะกด เป็นคำในมาตรา แม่กบ เครพ ศพ ลพบุรี ร่มชูชีพ เทพธิดา ปรินิพพาน สาปแช่ง สัปดาห์ ลาภ โลภ 1.นักบินกระโดดร่มโดยใช้ร่มชูชีพ 2.ผนังโบสถ์มีภาพวาดเป็นรูปเทพธิดา 3.พระพุทธเจ้าปรินิจพพานเมื่อพระชนมายุ ๘๐ พรรษา 4.สัปดาห์หนึ่งมีเจ็ดวัน |
7.มาตรากน หรือ แม่กน เป็นคำที่ประสมกับสระต่างๆและมี น เป็นตัวสะกด เช่น นาน บิน นอกจากนี้ คำที่ประสมสระต่างๆ และมี ญ ณ ร ล ฬ เป็นตัวสะกด และอ่านออกเสียงอย่าง น สะกด ก็เป็นคำในมาตรากนหรือแม่กนด้วย เช่นคุณ เชิญ พร นวล กาฬ
แม่กน มีตัวสะกดที่ไม่ตรงมาตราทั้งหมด ๕ ตัว คือ ญ ณ ร ล ฬ เวลาอ่านจะออกเสียงเหมือนมีตัว "น" สะกด ดังตัวอย่าง 1. ตรงตามมาตรา สะกดด้วย น เช่น นอน บิน ตัวอย่างประโยคของแม่กน |
8.มาตรากด หรือแม่กด เป็นคำที่ประสมกับสระต่างๆและมีด เป็นตัวสะกด นอกจากนี้ คำที่ประสมสระต่างๆ และมี จ ช ซ ฏ ฎ ฐ ต ถ ท ธ ฒ ฑ ศ ษ ส เป็นตัวสะกด เราก็เรียกแม่กดเช่นเดียวกัน เช่น มด นัด ขูด อาจ เภสัช ก๊าซ กฏหมาย ปรากฏ รถ ครุฑ อากาศ
แม่กด คำที่มี ตร รถ รท ชร เป็นตัวสะกดในมาตรา แม่กด อ่าน ออกเสียงเหมือน ด สะกด มิตร เมตร เนตร ฉัตiบัตร บาตร ลิตร สามารถ ปรารถนา สารท เพรช มิตรสหาย ไม้เมตร บัตรธนาคาร ตักบาตร น้ำสามลิตร วันสารท แหวนเพรช ความสามารถ สมปรารถนา ตัวอย่างที่เป็นประโยชน์ 1.เขาเป็นคนดีจึงมีมิตรสหายมาก 2.แม่ซื้อผ้าตัดเสื้อยาว ๕ เมตร 3.บัตรนี้เป็นบัตรธนาคารออกให้ 4.เขาตื่นแต่เช้าตรู่เพื่อตักบาตร 5.นักเรียนคนนี้สามารถร้องเพลงไทยได้ไพเราะ 6.ลูกเรียนเก่งได้สมความปราถนาของพ่อ |
สระ - ะ | กัน | จัน | วัน | คัน |
สระ -า | กาน | จาน | วาน | คาน |
สระ -ิ | กิน | จิน | วิน | คิน |
สระ -ี | ปีน | จีน | ยีน | มีน |
สระ เ-อ | เกิน | เขิน | เมิน | เชิญ |
สระ เ-ือ | เชือน | เบือน | เพื่อน | เดือน |
สระ โ- | โขน | โดน | โหน | โกน |
สระ -อ | ขอ | มอ | ยอ | พอ |
สระ -ู | ชู | รู | หู | ดู |
สระ -ุ | จุ | พุ | ลุ | คุ |
แม่ ก กา หมายถึง คำที่ประสมกับสระต่างๆ โดยไม่มีตัวสะกด เช่น หวี เงาะ กอบัว ทะเล กาแฟ กะปิ
สระ - ะ | กะ | จะ | วะ | คะ |
สระ -า | กา | จา | วา | คา |
สระ -ิ | กิ | จิ | วิ | คิ |
สระ -ี | ปี | จี | ยี | มี |
สระ เ-อ | เกอ | เขอ | เมอ | เชอ |
สระ เ-ือ | เชือ | เบือ | เพื่อ | เดือ |
สระ โ- | โข | โด | โห | โก |
สระ -อ | ขอ | มอ | ยอ | พอ |
สระ -ู | ชู | รู | หู | ดู |
สระ -ุ | จุ | พุ | ลุ | คุ |