แบบฟอร์ม commission sales (มีให้ดาวน์โหลด)


2,930 ผู้ชม


แบบฟอร์ม commission sales (มีให้ดาวน์โหลด)

5. บทบาทของฝ่ายขาย

 เพื่อที่จะให้บรรลุวัตถุประสงค์ของหน่วยงานและขององค์กร ฝ่ายขายจึง ต้องวางแผนงาน ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ 

1. การพัฒนาพนักงานขาย (Sales Force Development)

โดยทั่วไป พนักงานขายจะมีบุคลิกอยู่ 7 ประเภท (7 ก) ดังนี้ 

  • เก๋า           มีลักษณะ ชอบอวดดี, ไม่มีเหตุผล มักพูดว่า “เขาทำกันอย่างนี้มาตั้งนานแล้ว”
  • กลัว         มีลักษณะ ขาดความเชื่อมั่น มักพูดว่า “ทำอย่างนั้นได้หรือ”
  • เกียจ        มีลักษณะ ที่ไม่ลงมือทำ, ไม่มีความทะเยอทะยาน มักพูดว่า “สิ้นเดือน ถึงแน่ๆ”
  • เกี่ยง        มีลักษณะ ชอบหาข้ออ้าง, ผัดวันประกันพรุ่ง มักพูดว่า “นัดลูกค้าไว้แล้ว, แพง”
  • โกหก      มีลักษณะ ชอบแก้ตัว มักพูดว่า “ยอดขายตก เพราะ ฝนตก, โรงเรียนเปิด หรือ ปิด”
  • โกง          มีลักษณะ ชอบหาช่องว่างเอาเปรียบเพื่อน, ลูกค้า และบริษัท
  • เก่งจริง    มีความรู้, ความสามารถ และความรับผิดชอบต่อตนเอง, ลูกค้า รวมถึงบรรลุเป้าการขายได้

1. พนักงานขายที่ “เยี่ยมอย่างมืออาชีพ”

2. พนักงานขายที่ “เน้นราคา”

3. พนักงานขายที่ “ขายสินค้า”

4. พนักงานขายที่ “ตอบสนองความต้องการ”

5. พนักงานขายที่ “เป็นที่ปรึกษาทางธุรกิจ”

 

 

2. การพัฒนาลูกค้า (Customer Development)

 

                นอก จากการขายสินค้าให้ได้ในวันนี้แล้ว องค์กรควรวางแผนการเติบโตของธุรกิจในระยะยาว โดยการสร้างฐานตลาด คือ การสร้างและพัฒนาลูกค้าและผู้บริโภคให้ “รู้จักและเชื่อมั่นในสินค้าและบริการขององค์กร” กระบวนการการพัฒนาลูกค้ามีขั้นตอนดังนี้

1. กลุ่มผู้สงสัยว่าจะเป็นลูกค้า (Suspects) คือ ผู้บริโภคและลูกค้าที่มีโอกาสซื้อหรือใช้สินค้า

2. กลุ่มผู้คาดหวังว่าจะเป็นลูกค้า (Prospects) คือ ผู้บริโภคและลูกค้าที่ได้รู้จัก หรือติดต่อเพื่อซื้อหรือใช้สินค้า

3. กลุ่มลูกค้าที่ได้ซื้อครั้งแรก (First-time Customers) คือ ผู้บริโภคและลูกค้าที่ได้ซื้อหรือใช้สินค้าแล้ว

4. กลุ่มลูกค้าที่ซื้อซ้ำ (Repeat Customers) คือ ผู้บริโภคและลูกค้าที่มีได้ซื้อหรือใช้สินค้าแล้วมากกว่า 1 ครั้ง

5. กลุ่มลูกค้าที่ซื้อประจำ (Clients) คือ ผู้บริโภคและลูกค้าที่ได้ซื้อหรือใช้สินค้าอย่างต่อเนื่อง

6. กลุ่มลูกค้าที่ให้การสนับสนุน (Advocates) คือ ผู้บริโภคและลูกค้าที่ได้ซื้อหรือใช้สินค้าแล้ว ชอบและภูมิใจ จึงช่วยประชาสัมพันธ์ให้คนทั่วไป รู้จักถึงความดีและประโยชน์ของสินค้าและบริการ

7. กลุ่มลูกค้าที่เป็นหุ้นส่วน (Partners) คือ ผู้บริโภคและลูกค้าที่ได้ซื้อหรือใช้สินค้าแล้ว มีความรักและผูกพันกับสินค้า, บริการ รวมถึงระบบการบริหารและทีมงาน จึงเข้าร่วมกิจกรรมรวมถึงสร้างสรรค์กิจกรรมให้กับองค์กร

3. การพัฒนาช่องทางจัดจำหน่าย (Channel Development)

                เมื่อ วิเคราะห์สินค้าและธุรกิจ จนเข้าใจว่า กลุ่มเป้าหมายเป็นใคร จะซื้อสินค้าที่ไหน องค์กรจะพิจารณาว่า สินซื้อควรจะวางขายในช่องทางจัดจำหน่ายที่ไหนบ้าง เพื่อเป็นการสร้างความสะดวกในการจัดหาซื้อของผู้บริโภค ประเภทของช่องทางจัดจำหน่าย มีดังนี้

1. ร้านขายปลีก (Own Store) คือ การเปิดร้านขายปลีกโดยตรงให้ผู้บริโภค และพนักงาน

2. หน่วยขายตรง (Direct Sales) คือ การจัดตั้งหน่วยขายที่ติดต่อกับผู้บริโภคโดยตรง เช่น หน่วยขายตามบ้าน, เครื่องขายอัตโนมัติ (Vending Machine), ซุ้มขายสินค้า (Kiosk), รถเข็น (Street Vender), การขายสินค้าทางวารสาร (Catalogue), การขายทางโทรศัพท์ (Call Center, Tele Sales), การขายทางโทรทัศน์ (TV)

3. หน่วยรถเงินสด (Cash Delivery) คือ การจัดตั้งหน่วยขายที่ติดต่อกับลูกค้ารายย่อย เช่น ร้านชำ (โชวห่วย), ปั๊มน้ำมัน, ร้านอาหาร, แผงลอย ฯลฯ

4. หน่วยขายส่ง (Credit Sales) คือ การจัดตั้งหน่วยขายที่ติดต่อกับลูกค้ารายใหญ่ และอาจจะมีการขายส่งด้วย

5. หน่วยขายร้านค้าสมัยใหม่ (Modern Trade & Key Account) คือ การจัดตั้งหน่วยขายที่ติดต่อกับลูกค้าที่ทำธุรกิจค้าปลีก โดยมีระบบการค้าแบบสมัยใหม่ หมายถึง มีระบบการซื้อ, การขาย รวมถึงการส่งเสริมการขายที่ชัดเจน เช่น ซุปเปอร์มาร์เก็ต (Supermarket), ร้านสะดวกซื้อ (Convenience Store) ฯลฯ

6. หน่วยขายร้านอาหาร (Catering) คือ การจัดตั้งหน่วยขายที่ติดต่อกับลูกค้าประเภทขายอาหารขนาดใหญ่ เช่น โรงเรียน, โรงพยาบาล, โรงแรม, สวนอาหาร ฯลฯ

7. ตัวแทนจำหน่าย (Distributor) คือ การจัดตั้งตัวแทนการขายในท้องที่หนึ่ง เช่น ประเทศ, ภาค, จังหวัด

8. ช่องทางเลือกอื่นๆ (Alternatives Channel) คือ การจัดตั้งหน่วยขายที่จัดตั้งขึ้นให้สอดคล้องกับพฤติกรรมของผู้บริโภคที่เกิดขึ้น เช่น การขายทางอินเตอร์เน็ต (E-Commerce), หน่วยรถมอเตอร์ไซค์, หน่วยขายสังฆภัณฑ์ ฯลฯ

4. การพัฒนาระบบบริการโดยรวม (Total Service System Development)

ในปัจจุบันผู้บริโภคไม่ได้ซื้อแต่สินค้าเพียงอย่างเดียว เขายังพิจารณาถึงปัจจัยอื่นๆด้วย เช่น

1. การให้คำปรึกษา (Consulting) หมายถึง บางครั้งผู้บริโภคต้องการรู้ข้อมูลก่อนตัดสินใจซื้อประเภท สินค้า (ตู้เย็น, เครื่องปรับอากาศ, กล้องถ่ายรูป ฯลฯ) องค์กรที่มีบริการให้คำปรึกษา (แม้จะไม่ใช่สินค้าของตัวเองโดยตรง) ก็จะสามารถสร้างความน่าเชื่อถือ มีโอกาสในการจูงใจและอาจเปลี่ยนใจผู้บริโภคให้มาซื้อสินค้าได้

2. ความสะดวกและง่ายในการสั่งซื้อสินค้า (Ordering Ease) หมายถึง ช่องทางและวิธีการในการสั่งซื้อสินค้า เช่น ไปที่ร้านค้า, โทรศัพท์, อินเตอร์เน็ต, พนักงานขายไปเยี่ยม ฯลฯ

3. การบริการส่งให้ถึงที่ (Delivery) หมายถึง เมื่อซื้อสินค้าแล้วไม่ต้องกังวลว่าจะนำกลับไปใช้ได้อย่างไร เช่น ส่งให้ฟรี (ในรัศมี 10 กิโลเมตร), ส่งทางไปรษณีย์ (EMS, DHL), ส่งให้ถึงรถ ฯลฯ

4. การติดตั้ง (Installation) หมายถึง ขั้นตอนและวิธีการในการติดตั้งก่อนใช้งาน จะมีการช่วยผู้บริโภคอย่างไร เช่น ติดตั้งฟรี, คิดค่าใช้จ่ายจำนวน ....... บาท, จัดทำวิธีติดตั้งอย่างง่ายๆโดยใช้รูปภาพ และตัวเลขในการประกอบ ฯลฯ

5. การฝึกอบรม (Training) หมายถึง วิธีการใช้สินค้าที่มีความยุ่งยากซับซ้อนจะมีการช่วยฝึกอบรมอย่างไร (การถ่ายรูปเบื้องต้น, การถ่ายรูปขั้นสูง โดยใช้กล้อง...) เช่น การเปิดอบรมฟรีปีละ 1 ครั้ง สถานที่ .... ลงทะเบียนล่วงหน้าก่อน .... วัน โดยวิธี.........สถานที่ .......

6. การบำรุงรักษา (Maintenance) หมายถึง ระบบการดูแลสินค้าให้พร้อมใช้งานได้อย่างดี เป็นอย่างไร เช่น ถ่ายน้ำมันเครื่องทุก 10,000 ก.ม. หรือ 6 เดือนพร้อมตารางการซ่อมบำรุง, การตรวจสภาพเครื่องจักรทุกปี (Preventive Maintenance) ฯลฯ

7. การซ่อมแซม (Repair) หมายถึง ถ้าหากสินค้าเกิดปัญหาหรือข้อบกพร่อง มีระบบการซ่อมแซม แก้ไขอย่างไร, ค่าใช้จ่ายเท่าไร และใช้เวลานานแค่ไหน หลายองค์กรให้ความสำคัญกับแผนกบริการหลังการขาย คือ รับซ่อมในช่วงรับประกัน แต่ไม่สามารถให้คำตอบว่า “จะซ่อมเสร็จเมื่อไร” เพราะไม่ทราบว่าจะได้รับอะไหล่เมื่อไร

*** คำถามก็คือ คุณสามารถนำ “อะไหล่จากเครื่องที่มีอยู่” มาซ่อมให้ก่อนได้หรือไม่?

8. องค์ประกอบอื่นๆ (Miscellaneous) หมายถึง บรรยากาศของความมุ่งมั่นที่ต้องการจะบริการให้ดีที่สุดของพนักงานทุกคน รวมถึง แม่บ้าน, ยาม และคนขับรถ เพราะไม่ว่าจะเป็นธุรกิจอะไรก็ตาม พนักงานทุกคนต่างมีหน้าที่ในการผลักดันธุรกิจ ด้วยการสร้างสรรค์บรรยากาศและปัจจัยพื้นฐานให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการสร้างและ ดูแลลูกค้า เพราะลูกค้า คือ “ผู้ที่จ่ายเงินเดือน” 

                *** การที่ฝ่ายจัดซื้อหรือฝ่ายการเงิน พยายามไม่ชำระเงินหรือยืดเวลาชำระเงินให้ผู้จัดหาวัตถุดิบ (Supplier) นั้น ไม่ใช่การช่วยบริษัท แต่กลับเป็นการทำลายชื่อเสียงและความน่าเชื่อถือของบริษัท เพราะผู้จัดหาวัตถุดิบจะคิดว่า “ขนาด มีสัญญาซื้อขายสินค้าที่ถูกต้องแล้ว ยังจะเอาเปรียบอีกนิดๆหน่อยๆ ดังนั้น ถ้าหากซื้อสินค้าจากบริษัทนี้โดยไม่มีสัญญา จะเอาถูกเปรียบขนาดไหน คุณภาพคงต่ำสุดๆ เป็นแน่”

การ พัฒนาทักษะ, ความรู้ และความสามารถของพนักงานขาย เป็นปัจจัยหนึ่งที่จะบรรลุวัตถุประสงค์ของฝ่ายขายได้ ขณะเดียวกันก็ต้องลงทุนเรื่องการสรรหา, การฝึกอบรม, ระยะเวลาในการพัฒนาและบ่มเพาะ (Incubation) ตลอด จนความจำเป็นที่จะต้องมีพนักงานขายระดับสูง (ซึ่งในความเป็นจริงบางลักษณะธุรกิจใช้พนักงานขายฝีมือระดับกลาง หรือฝีมือระดับล่างก็เพียงพอ) ดังนี้ (รายละเอียดในข้อ 4 พัฒนาการของงานขาย) 

5. บทบาทของฝ่ายขาย

 เพื่อที่จะให้บรรลุวัตถุประสงค์ของหน่วยงานและขององค์กร ฝ่ายขายจึง ต้องวางแผนงาน ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ 

1. การพัฒนาพนักงานขาย (Sales Force Development)

โดยทั่วไป พนักงานขายจะมีบุคลิกอยู่ 7 ประเภท (7 ก) ดังนี้ 

        เก๋า           มีลักษณะ ชอบอวดดี, ไม่มีเหตุผล มักพูดว่า เขาทำกันอย่างนี้มาตั้งนานแล้ว 

        กลัว         มีลักษณะ ขาดความเชื่อมั่น มักพูดว่า ทำอย่างนั้นได้หรือ 

        เกียจ        มีลักษณะ ที่ไม่ลงมือทำ, ไม่มีความทะเยอทะยาน มักพูดว่า สิ้นเดือน ถึงแน่ๆ 

        เกี่ยง        มีลักษณะ ชอบหาข้ออ้าง, ผัดวันประกันพรุ่ง มักพูดว่า นัดลูกค้าไว้แล้ว, แพง 

        โกหก      มีลักษณะ ชอบแก้ตัว มักพูดว่า ยอดขายตก เพราะ ฝนตก, โรงเรียนเปิด หรือ ปิด

 

 

        โกง          มีลักษณะ ชอบหาช่องว่างเอาเปรียบเพื่อน, ลูกค้า และบริษัท

        เก่งจริง    มีความรู้, ความสามารถ และความรับผิดชอบต่อตนเอง, ลูกค้า รวมถึงบรรลุเป้าการขายได้

 

1. พนักงานขายที่ เยี่ยมอย่างมืออาชีพ 

2. พนักงานขายที่ เน้นราคา

3. พนักงานขายที่ ขายสินค้า

4. พนักงานขายที่ ตอบสนองความต้องการ

5. พนักงานขายที่ เป็นที่ปรึกษาทางธุรกิจ

 

 

2. การพัฒนาลูกค้า (Customer Development)

 

                นอก จากการขายสินค้าให้ได้ในวันนี้แล้ว องค์กรควรวางแผนการเติบโตของธุรกิจในระยะยาว โดยการสร้างฐานตลาด คือ การสร้างและพัฒนาลูกค้าและผู้บริโภคให้ รู้จักและเชื่อมั่นในสินค้าและบริการขององค์กร กระบวนการการพัฒนาลูกค้ามีขั้นตอนดังนี้

1. กลุ่มผู้สงสัยว่าจะเป็นลูกค้า (Suspects) คือ ผู้บริโภคและลูกค้าที่มีโอกาสซื้อหรือใช้สินค้า

2. กลุ่มผู้คาดหวังว่าจะเป็นลูกค้า (Prospects) คือ ผู้บริโภคและลูกค้าที่ได้รู้จัก หรือติดต่อเพื่อซื้อหรือใช้สินค้า

3. กลุ่มลูกค้าที่ได้ซื้อครั้งแรก (First-time Customers) คือ ผู้บริโภคและลูกค้าที่ได้ซื้อหรือใช้สินค้าแล้ว

4. กลุ่มลูกค้าที่ซื้อซ้ำ (Repeat Customers) คือ ผู้บริโภคและลูกค้าที่มีได้ซื้อหรือใช้สินค้าแล้วมากกว่า 1 ครั้ง

5. กลุ่มลูกค้าที่ซื้อประจำ (Clients) คือ ผู้บริโภคและลูกค้าที่ได้ซื้อหรือใช้สินค้าอย่างต่อเนื่อง

6. กลุ่มลูกค้าที่ให้การสนับสนุน (Advocates) คือ ผู้บริโภคและลูกค้าที่ได้ซื้อหรือใช้สินค้าแล้ว ชอบและภูมิใจ จึงช่วยประชาสัมพันธ์ให้คนทั่วไป รู้จักถึงความดีและประโยชน์ของสินค้าและบริการ

7. กลุ่มลูกค้าที่เป็นหุ้นส่วน (Partners) คือ ผู้บริโภคและลูกค้าที่ได้ซื้อหรือใช้สินค้าแล้ว มีความรักและผูกพันกับสินค้า, บริการ รวมถึงระบบการบริหารและทีมงาน จึงเข้าร่วมกิจกรรมรวมถึงสร้างสรรค์กิจกรรมให้กับองค์กร

3. การพัฒนาช่องทางจัดจำหน่าย (Channel Development)

                เมื่อ วิเคราะห์สินค้าและธุรกิจ จนเข้าใจว่า กลุ่มเป้าหมายเป็นใคร จะซื้อสินค้าที่ไหน องค์กรจะพิจารณาว่า สินซื้อควรจะวางขายในช่องทางจัดจำหน่ายที่ไหนบ้าง เพื่อเป็นการสร้างความสะดวกในการจัดหาซื้อของผู้บริโภค ประเภทของช่องทางจัดจำหน่าย มีดังนี้ 

1. ร้านขายปลีก (Own Store) คือ การเปิดร้านขายปลีกโดยตรงให้ผู้บริโภค และพนักงาน

2. หน่วยขายตรง (Direct Sales) คือ การจัดตั้งหน่วยขายที่ติดต่อกับผู้บริโภคโดยตรง เช่น หน่วยขายตามบ้าน, เครื่องขายอัตโนมัติ (Vending Machine), ซุ้มขายสินค้า (Kiosk), รถเข็น (Street Vender), การขายสินค้าทางวารสาร (Catalogue), การขายทางโทรศัพท์ (Call Center, Tele Sales), การขายทางโทรทัศน์ (TV)

3. หน่วยรถเงินสด (Cash Delivery) คือ การจัดตั้งหน่วยขายที่ติดต่อกับลูกค้ารายย่อย เช่น ร้านชำ (โชวห่วย), ปั๊มน้ำมัน, ร้านอาหาร, แผงลอย ฯลฯ

4. หน่วยขายส่ง (Credit Sales) คือ การจัดตั้งหน่วยขายที่ติดต่อกับลูกค้ารายใหญ่ และอาจจะมีการขายส่งด้วย

5. หน่วยขายร้านค้าสมัยใหม่ (Modern Trade & Key Account) คือ การจัดตั้งหน่วยขายที่ติดต่อกับลูกค้าที่ทำธุรกิจค้าปลีก โดยมีระบบการค้าแบบสมัยใหม่ หมายถึง มีระบบการซื้อ, การขาย รวมถึงการส่งเสริมการขายที่ชัดเจน เช่น ซุปเปอร์มาร์เก็ต (Supermarket), ร้านสะดวกซื้อ (Convenience Store) ฯลฯ

6. หน่วยขายร้านอาหาร (Catering) คือ การจัดตั้งหน่วยขายที่ติดต่อกับลูกค้าประเภทขายอาหารขนาดใหญ่ เช่น โรงเรียน, โรงพยาบาล, โรงแรม, สวนอาหาร ฯลฯ

7. ตัวแทนจำหน่าย (Distributor) คือ การจัดตั้งตัวแทนการขายในท้องที่หนึ่ง เช่น ประเทศ, ภาค, จังหวัด

8. ช่องทางเลือกอื่นๆ (Alternatives Channel) คือ การจัดตั้งหน่วยขายที่จัดตั้งขึ้นให้สอดคล้องกับพฤติกรรมของผู้บริโภคที่เกิดขึ้น เช่น การขายทางอินเตอร์เน็ต (E-Commerce), หน่วยรถมอเตอร์ไซค์, หน่วยขายสังฆภัณฑ์ ฯลฯ

4. การพัฒนาระบบบริการโดยรวม (Total Service System Development)

ในปัจจุบันผู้บริโภคไม่ได้ซื้อแต่สินค้าเพียงอย่างเดียว เขายังพิจารณาถึงปัจจัยอื่นๆด้วย เช่น

1. การให้คำปรึกษา (Consulting) หมายถึง บางครั้งผู้บริโภคต้องการรู้ข้อมูลก่อนตัดสินใจซื้อประเภท สินค้า (ตู้เย็น, เครื่องปรับอากาศ, กล้องถ่ายรูป ฯลฯ) องค์กรที่มีบริการให้คำปรึกษา (แม้จะไม่ใช่สินค้าของตัวเองโดยตรง) ก็จะสามารถสร้างความน่าเชื่อถือ มีโอกาสในการจูงใจและอาจเปลี่ยนใจผู้บริโภคให้มาซื้อสินค้าได้

2. ความสะดวกและง่ายในการสั่งซื้อสินค้า (Ordering Ease) หมายถึง ช่องทางและวิธีการในการสั่งซื้อสินค้า เช่น ไปที่ร้านค้า, โทรศัพท์, อินเตอร์เน็ต, พนักงานขายไปเยี่ยม ฯลฯ

3. การบริการส่งให้ถึงที่ (Delivery) หมายถึง เมื่อซื้อสินค้าแล้วไม่ต้องกังวลว่าจะนำกลับไปใช้ได้อย่างไร เช่น ส่งให้ฟรี (ในรัศมี 10 กิโลเมตร), ส่งทางไปรษณีย์ (EMS, DHL), ส่งให้ถึงรถ ฯลฯ

4. การติดตั้ง (Installation) หมายถึง ขั้นตอนและวิธีการในการติดตั้งก่อนใช้งาน จะมีการช่วยผู้บริโภคอย่างไร เช่น ติดตั้งฟรี, คิดค่าใช้จ่ายจำนวน ....... บาท, จัดทำวิธีติดตั้งอย่างง่ายๆโดยใช้รูปภาพ และตัวเลขในการประกอบ ฯลฯ

5. การฝึกอบรม (Training) หมายถึง วิธีการใช้สินค้าที่มีความยุ่งยากซับซ้อนจะมีการช่วยฝึกอบรมอย่างไร (การถ่ายรูปเบื้องต้น, การถ่ายรูปขั้นสูง โดยใช้กล้อง...) เช่น การเปิดอบรมฟรีปีละ 1 ครั้ง สถานที่ .... ลงทะเบียนล่วงหน้าก่อน .... วัน โดยวิธี.........สถานที่ .......

6. การบำรุงรักษา (Maintenance) หมายถึง ระบบการดูแลสินค้าให้พร้อมใช้งานได้อย่างดี เป็นอย่างไร เช่น ถ่ายน้ำมันเครื่องทุก 10,000 ก.ม. หรือ 6 เดือนพร้อมตารางการซ่อมบำรุง, การตรวจสภาพเครื่องจักรทุกปี (Preventive Maintenance) ฯลฯ

7. การซ่อมแซม (Repair) หมายถึง ถ้าหากสินค้าเกิดปัญหาหรือข้อบกพร่อง มีระบบการซ่อมแซม แก้ไขอย่างไร, ค่าใช้จ่ายเท่าไร และใช้เวลานานแค่ไหน หลายองค์กรให้ความสำคัญกับแผนกบริการหลังการขาย คือ รับซ่อมในช่วงรับประกัน แต่ไม่สามารถให้คำตอบว่า จะซ่อมเสร็จเมื่อไร เพราะไม่ทราบว่าจะได้รับอะไหล่เมื่อไร

*** คำถามก็คือ คุณสามารถนำ อะไหล่จากเครื่องที่มีอยู่ มาซ่อมให้ก่อนได้หรือไม่?

8. องค์ประกอบอื่นๆ (Miscellaneous) หมายถึง บรรยากาศของความมุ่งมั่นที่ต้องการจะบริการให้ดีที่สุดของพนักงานทุกคน รวมถึง แม่บ้าน, ยาม และคนขับรถ เพราะไม่ว่าจะเป็นธุรกิจอะไรก็ตาม พนักงานทุกคนต่างมีหน้าที่ในการผลักดันธุรกิจ ด้วยการสร้างสรรค์บรรยากาศและปัจจัยพื้นฐานให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการสร้างและ ดูแลลูกค้า เพราะลูกค้า คือ ผู้ที่จ่ายเงินเดือน 

                *** การที่ฝ่ายจัดซื้อหรือฝ่ายการเงิน พยายามไม่ชำระเงินหรือยืดเวลาชำระเงินให้ผู้จัดหาวัตถุดิบ (Supplier) นั้น ไม่ใช่การช่วยบริษัท แต่กลับเป็นการทำลายชื่อเสียงและความน่าเชื่อถือของบริษัท เพราะผู้จัดหาวัตถุดิบจะคิดว่า ขนาด มีสัญญาซื้อขายสินค้าที่ถูกต้องแล้ว ยังจะเอาเปรียบอีกนิดๆหน่อยๆ ดังนั้น ถ้าหากซื้อสินค้าจากบริษัทนี้โดยไม่มีสัญญา จะเอาถูกเปรียบขนาดไหน คุณภาพคงต่ำสุดๆ เป็นแน่

การ พัฒนาทักษะ, ความรู้ และความสามารถของพนักงานขาย เป็นปัจจัยหนึ่งที่จะบรรลุวัตถุประสงค์ของฝ่ายขายได้ ขณะเดียวกันก็ต้องลงทุนเรื่องการสรรหา, การฝึกอบรม, ระยะเวลาในการพัฒนาและบ่มเพาะ (Incubation) ตลอด จนความจำเป็นที่จะต้องมีพนักงานขายระดับสูง (ซึ่งในความเป็นจริงบางลักษณะธุรกิจใช้พนักงานขายฝีมือระดับกลาง หรือฝีมือระดับล่างก็เพียงพอ) ดังนี้ (รายละเอียดในข้อ 4 พัฒนาการของงานขาย)

Source: https://www.oknation.net/blog/monchai83/2009/10/17/entry-1

Click download Form:  https://www.biztree.com/Templates/Commission-Sales-Agreement.html

https://www.samplewords.com/sales-commission-summary-form/

อัพเดทล่าสุด