การคำนวณการทำงาน 119 วัน คำนวณ 119 วัน โปร 119 วัน นับอย่างไร


19,459 ผู้ชม


:: หมวด 11 ค่าชดเชย
การคำนวณการทำงาน 119 วัน	คำนวณ 119 วัน  โปร 119 วัน นับอย่างไร มาตรา 118 ให้นายจ้างจ่ายค่าชดเชยให้แก่ลูกจ้างซึ่ง เลิกจ้างดังต่อไปนี้
การคำนวณการทำงาน 119 วัน	คำนวณ 119 วัน  โปร 119 วัน นับอย่างไร (1) ลูกจ้างซึ่งทำงานติดต่อกันครบหนึ่งร้อยยี่สิบวัน แต่ไม่ครบ หนึ่งปี ให้จ่ายไม่น้อยกว่า ค่าจ้างอัตราสุดท้ายสามสิบวัน หรือไม่ น้อยกว่าค่าจ้างของการทำงานสามสิบวันสุดท้ายสำหรับลูกจ้างซึ่ง ได้รับค่าจ้างตามผลงานโดยคำนวณเป็นหน่วย
การคำนวณการทำงาน 119 วัน	คำนวณ 119 วัน  โปร 119 วัน นับอย่างไร (2) ลูกจ้างซึ่งทำงานติดต่อกันครบหนึ่งปี แต่ไม่ครบสามปี ให้จ่ายไม่น้อยกว่าค่าจ้างอัตราสุดท้ายเก้าสิบวัน หรือไม่น้อยกว่า ค่าจ้างของการทำงานเก้าสิบวันสุดท้ายสำหรับลูกจ้างซึ่งได้รับ ค่าจ้างตามผลงานโดยคำนวณเป็นหน่วย
การคำนวณการทำงาน 119 วัน	คำนวณ 119 วัน  โปร 119 วัน นับอย่างไร (3) ลูกจ้างซึ่งทำงานติดต่อกันครบสามปี แต่ไม่ครบหกปี ให้จ่ายไม่น้อยกว่าค่าจ้างอัตราสุดท้ายหนึ่งร้อยแปดสิบวัน หรือไม่น้อยกว่าค่าจ้างของการทำงานหนึ่งร้อยแปดสิบวันสุดท้าย สำหรับลูกจ้างซึ่งได้รับค่าจ้างตามผลงานโดยคำนวณเป็นหน่วย
การคำนวณการทำงาน 119 วัน	คำนวณ 119 วัน  โปร 119 วัน นับอย่างไร (4) ลูกจ้างซึ่งทำงานติดต่อกันครบหกปี แต่ไม่ครบสิบปีให้ จ่ายไม่น้อยกว่าค่าจ้างอัตราสุดท้ายสองร้อยสี่สิบวัน หรือไม่ น้อยกว่าค่าจ้างของการทำงานสองร้อยสี่สิบวันสุดท้ายสำหรับ ลูกจ้างซึ่งได้รับค่าจ้างตามผลงานโดยคำนวณเป็นหน่วย
การคำนวณการทำงาน 119 วัน	คำนวณ 119 วัน  โปร 119 วัน นับอย่างไร (5) ลูกล้างซึ่งทำงานติดต่อกันครบสิบปีขึ้นไป ให้จ่ายไม่น้อย กว่าค่าจ้างอัตราสุดท้ายสามร้อยวันหรือไม่น้อยกว่าค่าจ้างของ การทำงานสามร้อยวันสุดท้ายสำหรับลูกจ้างซึ่งได้รับค่าจ้างตาม ผลงานโดยคำนวณเป็นหน่วย
การคำนวณการทำงาน 119 วัน	คำนวณ 119 วัน  โปร 119 วัน นับอย่างไร การเลิกจ้างตาม มาตรา นี้ หมายความว่า การกระทำใดที่ นายจ้างไม่ให้ลูกจ้างทำงานต่อไปและไม่จ่ายค่าจ้างให้ ไม่ว่าจะ เป็นเพราะเหตุสิ้นสุดสัญญาจ้างหรือเหตุอื่นใด และหมายความ รวมถึงกรณีที่ลูกจ้างไม่ได้ทำงานและไม่ได้รับค่าจ้างเพราะเหตุ ที่นายจ้างไม่สามารถดำเนินกิจการต่อไป
การคำนวณการทำงาน 119 วัน	คำนวณ 119 วัน  โปร 119 วัน นับอย่างไร ความในวรรคหนึ่งมิให้ใช้บังคับแก่ลูกจ้างที่มีกำหนดระยะ เวลาการจ้างไว้แน่นอนและเลิกจ้างตามกำหนดระยะเวลานั้น
การคำนวณการทำงาน 119 วัน	คำนวณ 119 วัน  โปร 119 วัน นับอย่างไร การจ้างที่มีกำหนดระยะเวลาตามวรรคสามจะกระทำได้ สำหรับการจ้างงานในโครงการเฉพาะที่มิใช่งานปกติของธุรกิจ หรือการค้าของนายจ้างซึ่งต้องมีระยะเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุดของ งานที่แน่นอนหรือในงานอันมีลักษณะเป็นครั้งคราวที่มีกำหนด การสิ้นสุด หรือความสำเร็จของงาน หรือในงานที่เป็นไปตาม ฤดูกาลและได้จ้างในช่วงเวลาของฤดูกาลนั้น ซึ่งงานนั้นจะต้อง แล้วเสร็จภายในเวลาไม่เกินสองปีโดยนายจ้างและลูกจ้างได้ ทำสัญญาเป็นหนังสือไว้ตั้งแต่เมื่อเริ่มจ้าง
การคำนวณการทำงาน 119 วัน	คำนวณ 119 วัน  โปร 119 วัน นับอย่างไร มาตรา 119 นายจ้างไม่ต้องจ่ายค่าชดเชยให้แก่ลูกจ้าง ซึ่งเลิกจ้างในกรณีหนึ่งกรณีใดดังต่อไปนี้
การคำนวณการทำงาน 119 วัน	คำนวณ 119 วัน  โปร 119 วัน นับอย่างไร (1) ทุจริตต่อหน้าที่หรือกระทำความผิดอาญาโดยเจตนา แก่นายจ้าง
การคำนวณการทำงาน 119 วัน	คำนวณ 119 วัน  โปร 119 วัน นับอย่างไร (2) จงใจทำให้นายจ้างได้รับความเสียหาย
การคำนวณการทำงาน 119 วัน	คำนวณ 119 วัน  โปร 119 วัน นับอย่างไร (3) ประมาทเลินเล่อเป็นเหตุให้นายจ้างได้รับความเสียหาย อย่างร้ายแรง
การคำนวณการทำงาน 119 วัน	คำนวณ 119 วัน  โปร 119 วัน นับอย่างไร (4) ฝ่าฝืนข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานหรือระเบียบหรือคำสั่ง ของนายจ้างอันชอบด้วยกฎหมายและเป็นธรรม และนายจ้างได้ ตักเตือนเป็นหนังสือแล้ว เว้นแต่กรณีที่ร้ายแรงนายจ้างไม่จำเป็น ต้องตักเตือน
การคำนวณการทำงาน 119 วัน	คำนวณ 119 วัน  โปร 119 วัน นับอย่างไร หนังสือเตือนให้มีผลบังคับได้ไม่เกินหนึ่งปีนับแต่วันที่ลูกจ้างได้ กระทำผิด
การคำนวณการทำงาน 119 วัน	คำนวณ 119 วัน  โปร 119 วัน นับอย่างไร (5) ละทิ้งหน้าที่เป็นเวลาสามวันทำงานติดต่อกันไม่ว่าจะมีวัน หยุดคั่นหรือไม่ก็ตามโดยไม่มีเหตุอันสมควร
การคำนวณการทำงาน 119 วัน	คำนวณ 119 วัน  โปร 119 วัน นับอย่างไร (6) ได้รับโทษจำคุกตามคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก เว้นแต่ เป็นโทษสำหรับความผิดที่ได้กระทำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
การคำนวณการทำงาน 119 วัน	คำนวณ 119 วัน  โปร 119 วัน นับอย่างไร มาตรา 120 ในกรณีที่นายจ้างย้ายสถานประกอบกิจการ ไปตั้ง ณ สถานที่อื่น อันมีผลกระทบสำคัญต่อการดำรงชีวิตตาม ปกติของลูกจ้างหรือครอบครัว นายจ้างต้องแจ้งให้ลูกจ้างทราบ ล่วงหน้าไม่น้อยกว่าสามสิบวันก่อนวันย้ายสถานประกอบกิจการ ในการนี้ ถ้าลูกจ้างไม่ประสงค์จะไปทำงานด้วยให้ลูกจ้างมีสิทธิ บอกเลิกสัญญาจ้างได้โดยลูกจ้างมีสิทธิได้รับค่าชดเชยพิเศษไม่ น้อยกว่าร้อยละห้าสิบของอัตราค่าชดเชยที่ลูกจ้างพึงมีสิทธิได้รับ ตาม มาตรา 118
การคำนวณการทำงาน 119 วัน	คำนวณ 119 วัน  โปร 119 วัน นับอย่างไร ในกรณีที่นายจ้างไม่แจ้งให้ลูกจ้างทราบการย้ายสถาน ประกอบกิจการล่วงหน้าตามวรรคหนึ่งให้นายจ้างจ่ายค่าชดเชย พิเศษแทนการบอกกล่าวล่วงหน้าเท่ากับค่าจ้างอัตราสุดท้าย สามสิบวัน หรือเท่ากับค่าจ้างของการทำงานสามสิบวันสุดท้าย สำหรับลูกจ้างซึ่งได้รับค่าจ้างตามผลงานโดยคำนวณเป็นหน่วย ด้วย
การคำนวณการทำงาน 119 วัน	คำนวณ 119 วัน  โปร 119 วัน นับอย่างไร ลูกจ้างมีสิทธิยื่นคำขอให้คณะกรรมการสวัสดิการแรงงาน พิจารณาภายในสามสิบวันนับแต่วันที่นายจ้างย้ายสถานประกอบ กิจการว่า เป็นกรณีที่นายจ้างต้องบอกกล่าวล่วงหน้าหรือลูกจ้าง มีสิทธิบอกเลิกสัญญาจ้างโดยมีสิทธิได้รับค่าชดเชยพิเศษตาม วรรคหนึ่งหรือไม่
การคำนวณการทำงาน 119 วัน	คำนวณ 119 วัน  โปร 119 วัน นับอย่างไร คำวินิจฉัยของคณะกรรมการสวัสดิการแรงงานให้เป็นที่สุด เว้นแต่นายจ้างหรือลูกจ้างจะอุทธรณ์คำวินิจฉัยต่อศาลภายใน สามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งคำวินิจฉัย ในกรณีที่นายจ้างเป็น ฝ่ายดำเนินคดีไปสู่ศาลนายจ้างต้องวางเงินต่อศาลตามจำนวนที่ ต้องจ่ายแก่ลูกจ้างที่ยื่นคำขอตามวรรคสาม จึงจะฟ้องคดีได้
การคำนวณการทำงาน 119 วัน	คำนวณ 119 วัน  โปร 119 วัน นับอย่างไร การบอกเลิกสัญญาจ้างตาม มาตรา นี้ ลูกจ้างต้องใช้สิทธิภาย ในสามสิบวันนับแต่วันที่นายจ้างย้ายสถานประกอบกิจการ หรือ นับแต่วันที่คำวินิจฉัยของคณะกรรมการสวัสดิการแรงงานหรือ คำพิพากษาของศาลเป็นที่สุด
การคำนวณการทำงาน 119 วัน	คำนวณ 119 วัน  โปร 119 วัน นับอย่างไร มาตรา 121 ในกรณีที่นายจ้างจะเลิกจ้างลูกจ้างเพราะเหตุ ที่นายจ้างปรับปรุงหน่วยงาน กระบวนการผลิต การจำหน่าย หรือ การบริการ อันเนื่องมาจากการนำเครื่องจักรมาใช้หรือเปลี่ยนแปลง เครื่องจักรหรือเทคโนโลยี ซึ่งเป็นเหตุให้ต้องลดจำนวนลูกจ้าง ห้าม มิให้นำ มาตรา 17 วรรคสอง มาใช้บังคับ และให้นายจ้างแจ้งวันที่ จะเลิกจ้าง เหตุผลของการเลิกจ้างและรายชื่อลูกจ้างต่อพนักงาน ตรวจแรงงาน และลูกจ้างที่จะเลิกจ้างทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่า หกสิบวันก่อนวันที่จะเลิกจ้าง
การคำนวณการทำงาน 119 วัน	คำนวณ 119 วัน  โปร 119 วัน นับอย่างไร ในกรณีที่นายจ้างไม่แจ้งให้ลูกจ้างที่จะเลิกจ้างทราบล่วงหน้า หรือแจ้งล่วงหน้าน้อยกว่าระยะเวลาที่กำหนดตามวรรคหนึ่ง นอก จากจะได้รับค่าชดเชยตาม มาตรา 118 แล้ว ให้นายจ้างจ่ายค่า ชดเชยพิเศษแทนการบอกกล่าวล่วงหน้าเท่ากับค่าจ้างอัตราสุดท้าย หกสิบวัน หรือเท่ากับค่าจ้างของการทำงานหกสิบวันสุดท้ายสำหรับ ลูกจ้างซึ่งได้รับค่าจ้างตามผลงานโดยคำนวณเป็นหน่วยด้วย
การคำนวณการทำงาน 119 วัน	คำนวณ 119 วัน  โปร 119 วัน นับอย่างไร ในกรณีที่มีการจ่ายค่าชดเชยพิเศษแทนการบอกกล่าวล่วงหน้า ตามวรรคสองแล้ว ให้ถือว่านายจ้างได้จ่ายสินจ้างแทนการบอกกล่าว ล่วงหน้าตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ด้วย
การคำนวณการทำงาน 119 วัน	คำนวณ 119 วัน  โปร 119 วัน นับอย่างไร มาตรา 122 ในกรณีที่นายจ้างเลิกจ้างลูกจ้างตาม มาตรา 121 และลูกจ้างนั้นทำงานติดต่อกันเกินหกปีขึ้นไป ให้นายจ้าง จ่ายค่าชดเชยพิเศษเพิ่มขึ้นจากค่าชดเชยตาม มาตรา 118 ไม่ น้อยกว่าค่าจ้างอัตราสุดท้ายสิบห้าวันต่อการทำงานครบหนึ่งปี หรือไม่น้อยกว่าค่าจ้างของการทำงานสิบห้าวันสุดท้ายต่อการ ทำงานครบหนึ่งปีสำหรับลูกจ้างซึ่งได้รับค่าจ้างตามผลงานโดย คำนวณเป็นหน่วย แต่ค่าชดเชยตาม มาตรา นี้รวมแล้วต้องไม่ เกินค่าจ้างอัตราสุดท้ายสามร้อยหกสิบวัน หรือไม่เกินค่าจ้าง ของการทำงานสามร้อยหกสิบวันสุดท้ายสำหรับลูกจ้างซึ่งได้ รับค่าจ้างตามผลงานโดยคำนวณเป็นหน่วย
การคำนวณการทำงาน 119 วัน	คำนวณ 119 วัน  โปร 119 วัน นับอย่างไร เพื่อประโยชน์ในการคำนวณค่าชดเชยพิเศษ กรณีระยะ เวลาทำงานไม่ครบหนึ่งปี ถ้าเศษของระยะเวลาทำงานมาก กว่าหนึ่งร้อยแปดสิบวัน ให้นับเป็นการทำงานครบหนึ่งปี

[[[[[ คลิก เพื่อคำนวณ การคำนวณการทำงาน 119 วัน ]]]]]]


บริษัทแห่งหนึ่งมีนโยบายให้ฝ่ายบุคคล ดำเนินการประเมินผลพนักงานใหม่แต่ละคน ในช่วงประมาณ 15 วันก่อนครบกำหนดทดลองงาน แต่เนื่องจากในระยะเวลาใกล้เคียงกันนั้น มีพนักงานเข้าใหม่จำนวนมาก ฝ่ายบุคคลเกรงว่าจะตรวจสอบไม่ทั่วถ้วน จึงต้องการสร้างตารางเตือนด้วย Excel ดังรูปที่ 1 โดยมีเงื่อนไขหลักๆ ดังนี้


รูปที่ 1 ตารางแจ้งเตือนวันครบกำหนดทดลองงาน


เงื่อนไขการทำงาน
  1. วันครบทดลองงาน คือ วันเริ่มงาน + 119 วัน (รวมเป็น 120 วัน)
  2. ถ้าวันครบทดลองงาน "ตรงกับ" วันปัจจุบัน ให้แสดงคำว่า ครบแล้ว หรือ “ครบวันนี้” ในคอลัมน์สถานะ ด้วยอักษรสีแดงตัวหนา
  3. ถ้าวันปัจจุบัน "เลย" วันครบทดลองงานมาแล้ว ไม่ต้องแสดงข้อความใดๆ ในคอลัมน์สถานะ
  4. ถ้าวันปัจจุบัน "ยังไม่ถึง" วันครบทดลองงาน ให้แสดงจำนวนวันที่เหลือในคอลัมน์คำเตือน และ
    • ถ้าเหลือเวลามากกว่า 15 วัน ให้แสดงคำว่า “ช่วงทดลองงาน” ในคอลัมน์สถานะ
    • ถ้าเหลือระยะเวลาไม่เกิน 15 วัน ให้แสดงคำว่า “ช่วงประเมินผล” ในคอลัมน์สถานะ ด้วยอักษรสีขาวบนพื้นสีแดง พร้อมทั้งกำหนดรูปแบบเซลล์คำเตือน ให้เป็นอักษรสีขาวพื้นสีแดงด้วยเช่นกัน

อ่าน เงื่อนไขแล้วมึนหรือเปล่าครับ แค่รู้วันครบทดลองงานโดยอัตโนมัติก็นับว่าเก่งแล้ว นี่ยังมีข้อแม้อื่นๆ อีกเช่น การกำหนดรูปแบบตัวอักษร สีพื้น แล้วยังมีการตรวจสอบระยะเวลาอีกว่า ช่วงไหนคือช่วงทดลองงาน ช่วงไหนคือช่วงประเมินผล แต่หน้าที่ของเราผู้ใช้ Excel แบบมืออาชีพคือ การตีโจทย์ให้แตก แล้วคิดวิธีการเขียนสูตรและเลือกใช้ฟังก์ชัน เพื่อให้ตารางข้อมูลพนักงานเข้าใหม่นี้ มีความเก่งในตัวเอง ดังนั้น เรามาช่วยกันออกแบบตารางนี้กันดีกว่าครับ
สร้างตารางการแจ้งเตือน


รูปที่ 2 ตารางแจ้งเตือนวันครบกำหนดทดลองงาน


ขอให้ลองทำตารางข้อมูล ดังตัวอย่างในรูปที่ 2 เพื่อจะได้ลองฝึกปฏิบัติไปพร้อมๆ กันกับที่ผมจะอธิบายแต่ละขั้นตอน
ก่อนอื่น...ที่เซลล์ F1 พิมพ์สูตร =TODAY()
เพื่อให้แสดงวันที่ปัจจุบันเสมอ (แต่...อย่าลืมตั้งวันที่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ ให้ตรงกับวันปัจจุบันด้วยนะครับ เดี๋ยวจะยุ่ง)
หาวันครบทดลองงาน
จากที่โจทย์กำหนด วันครบทดลองงานคือ วันเริ่มงาน + 119 ดังนั้นในเซลล์ G3 พิมพ์ =F3+119 เสร็จแล้วก็คัดลอกสูตรจาก G3 ลงมาถึง G10
การแสดงข้อความเตือนในคอลัมน์ "คำเตือน"
โจทย์บอกว่า “ถ้าวันปัจจุบันยังไม่ถึงวันครบทดลองงาน ให้แสดงจำนวนวันที่เหลือในคอลัมน์คำเตือน” ซึ่งวันที่เหลือก็คือ อีกกี่วันจึงจะครบกำหนดทดลองงานนั่นเอง ดังนั้น โดยพื้นฐานแล้ว จำนวนวันที่เหลือ (I3) ก็คือ วันครบทดลองงาน (G3) – วันปัจจุบัน (F$1)
แต่หากพิจารณาต่อไปว่า ถ้าวันปัจจุบันยังไม่ถึงวันครบทดลองงาน เมื่อนำวันครบทดลองงานมาลบวันปัจจุบัน ก็จะได้เป็น “ค่าบวก” แต่ในทางกลับกัน ถ้าวันปัจจุบันเลยวันครบทดลองงานแล้ว ก็จะได้เป็น “ค่าลบ”
เราจึงต้องตั้งเงื่อนไขว่า "ถ้าวันปัจจุบันยังไม่ถึงวันครบทดลองงาน ก็ให้เอา วันครบทดลองงาน – วันปัจจุบัน แล้วแจ้งเตือนว่าเหลืออีกกี่วัน, แต่ถ้าวันปัจจุบันเท่ากับวันครบทดลองงานพอดี หรือเลยวันครบทดลองงานไปแล้ว ก็ไม่ต้องแจ้งเตือนใดๆ" ดังนั้นในเซลล์ I3 จึงเขียนสูตรดังนี้
=IF(F$1 < $G3,"เหลืออีก "&$G3-F$1&" วัน","")
แล้วคัดลอกสูตรจาก I3 ลงมาถึง I10
ผังแนวคิดการแสดงข้อความในคอลัมน์ "สถานะ"


รูปที่ 3 แผนผังแสดงแนวคิดในการแสดงข้อความในคอลัมน์ “สถานะ”


จากแผนผังจะเห็นว่า ในขั้นตอนแรกเราจะตรวจสอบดูก่อนว่า วันปัจจุบัน (F$1) เลยกำหนดครบทดลองงาน (G3) หรือยัง ซึ่งถ้าเลยมาแล้ว ก็ไม่ต้องแสดงข้อความใดๆ (หรือใครจะให้แสดงข้อความว่า “เกินวันแล้ว” ก็ได้เหมือนกัน)
ถ้าวันปัจจุบัน (F$1) ยังไม่เกินกำหนดครบทดลองงาน (G3) แต่ตรงกับวันครบทดลองงานพอดี (F$1=G3) ก็ให้แสดงคำว่า “ครบวันนี้”
ส่วนเงื่อนไขสุดท้ายคือ ถ้า วันปัจจุบัน (F$1) ยังไม่ถึงกำหนดทดลองงาน (G3) ให้ตรวจสอบเงื่อนไขเพิ่มเติมอีกว่า ยังเหลืออีกกี่วัน (G3-F$1) ซึ่งถ้าเหลือมากกว่า 15 วัน ให้แสดงข้อความว่า “ช่วงทดลองงาน” แต่ถ้าวันที่ยังเหลือนั้นน้อยกว่าหรือเท่ากับ 15 วันพอดี ก็ให้แสดงข้อความว่า “ช่วงประเมินผล”
รวมแล้วมีด้วยกันทั้งสิ้น 3 เงื่อนไข เราจึงใช้ฟังก์ชัน IF ซ้อนกัน 3 ชั้น โดยพิมพ์สูตรที่ H3 ดังนี้
=IF(F$1>G3,"",IF(F$1=G3,"ครบวันนี้",
IF(G3-F$1>15,"ช่วงทดลองงาน","ช่วงประเมินผล")))

แล้วคัดลอกสูตรจาก H3 ลงมาถึง H10
การกำหนดรูปแบบเซลล์ตามเงื่อนไข
ผมขอแนะนำ การกำหนดรูปแบบตามเงื่อนไข (Conditional Formatting) เพื่อนำมาประยุกต์ใช้ในหัวข้อนี้ เนื่องจากโจทย์กำหนดเงื่อนไขรูปแบบเซลล์ ในคอลัมน์สถานะไว้ว่า ถ้าแสดงข้อความว่า “ครบวันนี้” ให้รูปแบบอักษรเป็นตัวหนาสีแดง แต่ถ้าแสดงข้อความว่า “ช่วงประเมินผล” ให้รูปแบบอักษรเป็นสีขาวบนพื้นสีแดง ดังนั้นรูปแบบในคอลัมน์สถานะจึงมี 2 เงื่อนไข
ส่วนในคอลัมน์คำเตือนมี เงื่อนไขเดียวคือ ถ้าในคอลัมน์สถานะของบรรทัดนั้นๆ แสดงคำว่า “ช่วงประเมินผล” ก็ให้รูปแบบเซลล์ในคอลัมน์คำเตือนของบรรทัดนั้น เป็นอักษรสีขาวบนพื้นสีแดงเช่นกัน
การกำหนดรูปแบบเซลล์ในคอลัมน์ "สถานะ"


รูปที่ 4 การกำหนดรูปแบบเซลล์ในคอลัมน์ “สถานะ”


  1. เลือกช่วงเซลล์ H3:H10
  2. คลิกเมนู Format -> Conditional Formatting (รูปแบบ -> การจัดรูปแบบตามเงื่อนไข)
  3. กำหนดเงื่อนไขแรก โดยเลือกเงื่อนไขเป็น Formula is (สูตรคือ)
  4. พิมพ์สูตรลงในช่องว่างทางขวา ดังนี้
    =F$1=G3 (วันปัจจุบันเท่ากับวันเริ่มงาน)
  5. คลิกปุ่ม Format… (รูปแบบ..)
  6. ตั้งค่ารูปแบบตัวอักษร ให้เป็นตัวหนา สีแดง
  7. คลิกปุ่ม OK (ตกลง) เพื่อกลับมาที่หน้าเดิม
  8. เพิ่มเงื่อนไขที่สอง โดยการคลิกที่ปุ่ม Add>> (เพิ่ม>>) ที่อยู่ด้านล่าง และเลือกเงื่อนไขเป็น Formula is (สูตรคือ)
  9. พิมพ์สูตรลงในช่องว่างทางขวา ดังนี้
    =AND(G3-F$1<=15,G3-F$1>0)
    (วันครบทดลองงาน ลบ วันปัจจุบัน น้อยกว่าหรือเท่ากับ 15 วัน และมีค่ามากกว่าศูนย์)
  10. คลิกปุ่ม Format… (รูปแบบ..)
  11. ตั้งค่ารูปแบบตัวอักษร ให้เป็นสีขาว และตั้งค่าสีพื้นให้เป็นสีแดง
  12. คลิกปุ่ม OK (ตกลง) เพื่อกลับมาที่หน้าเดิมอีกครั้ง
  13. คลิกปุ่ม OK (ตกลง) อีกครั้ง เพื่อจบการตั้งค่า

การกำหนดรูปแบบเซลล์ในคอลัมน์ "คำเตือน"


รูปที่ 5 การกำหนดรูปแบบเซลล์ในคอลัมน์ “คำเตือน”


  1. เลือกช่วงเซลล์ I3:I10
  2. คลิกเมนู Format -> Conditional Formatting (รูปแบบ -> การจัดรูปแบบตามเงื่อนไข)
  3. เลือกเงื่อนไขเป็น Formula is (สูตรคือ)
  4. พิมพ์สูตรลงในช่องว่างทางขวา ดังนี้
    =AND( G3-F$1<=15,G3-F$1>0)
    (วันครบทดลองงาน ลบ วันปัจจุบัน น้อยกว่าหรือเท่ากับ 15 วัน และมีค่ามากกว่าศูนย์)
  5. คลิกปุ่ม Format… (รูปแบบ..)
  6. ตั้งค่ารูปแบบตัวอักษร ให้เป็นสีขาว และตั้งค่าสีพื้นให้เป็นสีแดง
  7. คลิกปุ่ม OK (ตกลง) เพื่อกลับมาที่หน้าเดิม
  8. คลิกปุ่ม OK (ตกลง) อีกครั้ง เพื่อจบการตั้งค่า จะได้รูปแบบผลลัพธ์ดังรูปที่ 1 นั่นเอง


ทดลอง ทำตามทีละขั้นตอนนะครับ หวังว่าจะมีประโยชน์สำหรับทุกท่าน ในการนำไปประยุกต์ใช้งานจริง ในเรื่องนี้มีข้อแม้อยู่เรื่องหนึ่ง เนื่องจากมีการใช้ฟังก์ชัน TODAY ในการคำนวณ ดังนั้น การบันทึกวันเข้างาน จึงต้องบันทึกในรูปแบบ ปี ค.ศ. เท่านั้น (อ่านเพิ่มเติมเรื่อง การกำหนดรูปแบบเซลล์ประเภทวันที่ (Date format) ซึ่งผมเขียนไว้ก่อนหน้านี้แล้ว) และวันที่เข้างานนั้น จะต้องเป็นรูปแบบเดียวกันกับวันที่ ที่ได้จากฟังก์ชัน TODAY ซึ่งอาจจะเป็นรูปแบบ d/m/yyyy หรือ m/d/yyyy สุดแล้วแต่การตั้งค่าในแต่ละเครื่อง

Source: https://it-for-hr.blogspot.com/2010/09/blog-post.html

อัพเดทล่าสุด