เบอร์โทรสถาบันโรคผิวหนัง บางเขน โรงพยาบาลโรคผิวหนังบางเขน โรงพยาบาลโรคผิวหนัง บางเขน
เบอร์โทรสถาบันโรคผิวหนัง บางเขนสถาบันโรคผิวหนัง บางเขน
คือว่าสภาพผิวหน้าก่อนจะเห่อ .. คือผิวผสม
สิวไม่ค่อยมี ...ประปราย แต่มีอุดตัน
ลองหาข้อมูลจากบอร์ดนี้ และอื่นๆ ว่า BP ช่วยได้
ซื้อมาลอง 2- 3 วัน ขึ้นมาเบียดกันทันที ทีแรกไม่เยอะ
พอเกือบอาทิด แม่เจ้า ... ออกแนวเหมือนพองๆแดงๆ แต่ก้อมะได้ขนาดนั้น
แต่ขึ้นมาเยอะมากกก ข้างแก้มขวานี่เยอะมากๆๆๆ มีทั้งเม็ดที่หายแร้วแต่ยังเปนรอยแดงๆ
ตัวเมดที่ไม่หายก้อบวมๆ อย่างผิวคางคก (เว่อออๆ) แต่คนไม่เคยเปนเยอะขนาดนี้ก้อจิตตกมากกกกกกกกกกกกกกกกก
ทำเอาไม่กล้าออกไปหนายเรย มีแต่คนทักบอกว่า ..ไปทำไรมาหน้าเยินตะปุมตะป่ำยางกะคางคก
โหวว .. จบ !
ก้อเลยลอง BP สัก 2 อาทิด ก้อขึ้นเรื่อยยยยมา จนเอาละวะ difiren เค้าว่าใช้คู่ เปอเซนเห่อน้อยกว่า
ก้อเอา ... ทา ไอทีแลว่า แย่ๆ ดว้วย BP กลับดีขึ้นเหมือนว่าแห้ง แต่ตรงอื่นก้อขึ้นอยู่ดี !
ยิ่งตอนอาบน้ามเสดใหม่ๆ ไม่ต้องพูด หน้านี่แดงมากกก เปนตุ่มสิวเตมไปหมด
มะเคยเหนหนังหน้าแย่ขนาดนี้เรยย
เหนเค้าว่าไปหา หมอที่ สถาบันโรคผิวหนังที่ บางเขน ..
แต่หาข้อมูลเท่าไรก้อมะเจอ ว่ามันมี !!
อีกอย่างมะก่อนเคยแพ้แป้งพวก ETUDE ไปหาหมอคลีนิคนึงเค้าเปนหมอจากโรงบาล เค้าก้อให้เหมือนพวก BP นี่ละ
แต่อาการหนักมาก คือเห่อทั้งหน้าไม่มีที่ไหนไม่เห่อเรย คางคกจิงๆของแท้ๆๆเรย พองด้วยแร่ะ น่าเกียดมาก
หมอบอกว่าให้เห่อให้หมดค่อยรักษารอย
เราก้อรอและรอ ...ผ่านไป 2เดอือนไม่มีไรดีขึ้น เราเลิกหา ...
ไปคลีนิค สิวหายไว แต่ค่ารักษาครอส 5พัน ยางไม่รวมยา ที่ พวกพนง. เชียให้ซื้อเพิ่ม
หลังจากนั้นซื้อคอรสตามมาอีก 2 ครอส เปนหมื่น ...
เส้าจัง ...
เราเปน นศ. งบไม่เยอะ ทำไงดี
ไม่น่าทา BP เรย ไม่งั้น หน้าเราก้อใสเหมือนเดิม
ตอนนี้น่ะ หน้าใสหัวไปเรยมากกว่า
Link https://landmark.edtguide.com
+++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++
โรงพยาบาลโรคผิวหนังบางเขน
คลินิกสมุนไพร โรงพยาบาลสัตว์ บางเขน
คลินิกสมุนไพร โรงพยาบาลสัตว์บางเขน เริ่มเปิดให้บริการตั้งแต่ 5 ต.ค. 2548 โดย รศ. ดร. น.สพ. ณรงค์ จึงสมานญาติ ซึ่งทำการศึกษาวิจัยสมุนไพรใช้ในทางสัตวแพทย์ เพื่อลดการนำเข้า ลดสารพิษตกค้างของยาฆ่าเห็บหมัดเหาจากต่างประเทศ พัฒนาสมุนไพรฆ่าเชื้อราที่ผิวหนัง ใช้ทาภายนอกแทนการกินยายับยั้งเชื้อราที่มีผลต่อตับ รวมทั้งลดการน าเข้าของยาและเวชภัณฑ์ โดยเริ่มต้นศึกษาวิจัยหาพืชสมุนไพรที่มีฤทธิ์ฆ่าเห็บโคตั้งแต่ 2531 พบสารสกัดจากพืชหลายชนิดมีประสิทธิภาพสูงในการกำจัดเห็บโค(2533) และคัดเลือกเฉพาะพืชที่หาง่ายเป็นที่รู้จักของเกษตรกร ทดสอบหาวิธีสกัดแบบง่ายๆ ที่มีประสิทธิภาพและเกษตรกรทำเองได้ ได้แก่ เมล็ดน้อยหน่า เมล็ดมันแกว น้ำมันตะไคร้แกง ตะไคร้หอม น้ำมันเปลือกผิวส้ม และมะขามเปียก และปี 2542 ได้ออกเผยแพร่ให้เกษตรกรผู้เลี้ยงโคนม 50 สหกรณ์โคนม (2,066 คน) และนักศึกษาวิทยาลัยเกษตรกรรม 9 แห่ง (1,011 คน) ปี 2545 ได้เริ่มวิจัย และพัฒนาสมุนไพรเป็นผลิตภัณฑ์ส าหรับสุนัขแมว เพื่อใช้ในโรงพยาบาลสัตว์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เช่น
1. ผลิตภัณฑ์กำจัดเห็บ หมัด เหา (KU Exto spray, KU Exto shampoo, TIC )
KU Exto เป็นสเปรย์สารสกัดสมุนไพรที่ฆ่าเห็บหมัดเหาได้ทุกวัย โดยให้พ่นตามขอบ ซอก มุม พื้นที่ชนกับผนังหรือสิ่งของ ตรงบริเวณที่สุนัขนอนหลับ สัปดาห์ละ 2 ครั้งติดต่อกัน 2 สัปดาห์ เนื่องจากเห็บทุกตัวเมื่อดูดกินเลือดสุนัขได้ประมาณ 3-7 วันแล้ว จะปล่อยตัวลงพื้นเมื่อสุนัขนอนหลับ (อุณหภูมิตัวสุนัขเย็นลง เห็บจึงรู้ว่าสุนัขนอนหลับ และสุนัขจะกลับมานอนอีก) เห็บจึงหดปาก ปล่อยตัว คลานหาซอกมุม ไปลอกคราบแล้วจะได้ขึ้นสุนัขได้อีกเมื่อสุนัขมานอน ส่วนเห็บตัวแก่จะปล่อยตัวลงพื้นไปวางไข่ (ประมาณ 2,000 ฟองต่อตัว) ตามขอบ ซอก หลุม มุมพื้นที่สุนัขนอน หลังจากนั้น 3 สัปดาห์ ไข่จะฟักออกมาเป็นเห็บตัวอ่อน คลานขึ้นสุนัขได้เวลาสุนัขมานอน
KU Exto สามารถกำจัดเห็บ หมัด ทุกระยะที่พื้น ให้ตายก่อนขึ้นสุนัข สุนัขจะได้ไม่เสียเลือดและไม่ติดพยาธิเม็ดเลือดจากเห็บด้วย ส่วนเห็บบนตัวสุนัขให้พ่นด้วย TIC spray หรือสระขนอาบน้ำด้วย KU Exto Shampoo แล้วเห็บตัวเมียจะออกไข่ไม่ได้ เห็บตัวอ่อน เห็บตัวกลางวัย และเห็บตัวผู้จะตายภายใน 24 ชม. และแชมพูจะทำความสะอาดผิวหนังและขนได้ด้วย
ส่วน หมัด จะลงมาไข่ที่บริเวณพื้นที่สุนัขและแมว นอน แล้วเจริญเป็นตัวหนอน และดักแด้ ที่พื้นสัตว์นอน ดังนั้นการพ่น KU Exto ที่พื้นสัปดาห์ละ 2 ครั้งติดต่อกัน 2 สัปดาห์ จะฆ่าหมัดได้ทั้งระยะไข่ ระยะหนอน และระยะดักแด้ รวมทั้งตัวแก่ ที่ลงไปวางไข่) หรือพ่นด้วย TIC spray (ฆ่าได้แต่หมัดตัวเต็มวัย) จึงต้องพ่นสัปดาห์ละ 2 ครั้งติดต่อกัน 3-4 สัปดาห์
ส่วน เหา นั้นให้พ่น TIC spray บนตัวสัตว์หรืออาบน ้าด้วย KU Exto shampoo เพราะเหาอยู่บนตัวสัตว์ทุกระยะ รวมทั้งไข่ก็ติดอยู่ที่ขนสัตว์ พ่นหรืออาบให้สัปดาห์ละ 2 ครั้ง ติดต่อกัน 3-4 สัปดาห์
2. ผลิตภัณฑ์รักษาโรคผิวหนังสุนัขแมว (KU Natural Miticide, เคยูโลชั่นตะไคร้หอม, เคยูโลชั่นทองพันชั่ง, DemodexScrub,
MalasScrub, Hypo allergic shampoo น้ำมันผิวส้ม, Hypo allergic shampoo น้ำมันผิวมะกรูด, KU cream, KU Healer
หรือเคยูครีมเรียกเนื้อ)
โรคผิวหนังที่เกิดจากตัวไรขี้เรื้อน นั้น ที่พบบ่อยมี 3 ชนิด คือ 1.ไรขี้เรื้อนแห้ง 2.ไรขี้เรื้อนเปียกหรือไรขุมขน (ตัวไรขี้เรื้อนเต็มวัย จะอยู่บนผิวหนัง ผสมพันธุ์กันแล้วจึงจะไปวางไข่ในผิวหนัง) และ 3. ไรชิคเกอร์ เป็นตัวไรของพืช ที่ติดมากัดผิวหนังสุนัขได้
1) ตัวไรขี้เรื้อนแห้ง จะขุดผิวหนังชั้นนอกของสัตว์เป็นท่อวางไข่ (โดยเริ่มที่บริเวณผิวหนังบางและเป็นส่วนปลายบนของร่างกายเช่นปลายหู ปลายหางก่อน) จึงเห็นเป็นรังแคแห้งเกาะจับกันหนา หรือเกาจนรังแคและขนที่ขอบใบหูร่วงหมด เมื่อเวลาจับปลายใบหูบี้ๆ สุนัขจะยกขาหลังเกาตัว เนื่องจากตัวไรวิ่งหนีลงรูที่ผิวหนังชั้นนอก ทำให้สุนัขคัน ถ้าทิ้งไว้นานจะกระจายทั้งตัว ตัวมีกลิ่นเหม็นสาบ ทุกบริเวณที่ตัวไรอยู่จะมีรังแคแห้งเกาะอยู่ ซึ่งต่างจากเชื้อยีสต์ที่รังแคจะมีสีครีมเปียกน้ำมันและผิวหนังแดง
2) ตัวไรขี้เรื้อนเปียก จะลงไปวางไข่ที่รากขนในผิวหนังชั้นใน และน าเชื้อแบคทีเรียบนผิวหนังลงไปด้วย ท าให้รากขนอักเสบเป็นตุ่มคล้ายหัวสิว มักจะเกิดที่หัวและแก้ม (บริเวณผิวหนังชั้นในหนา) ก่อน แล้ววางไข่เพิ่มจ านวน กระจายเป็นทั้งตัว เมื่อไข่ฟักเป็นตัวอ่อน จะกัดผิวหนังชั้นในโดนปลายประสาทที่ผิวหนัง สุนัขจะเกาหนังจนโดนตัวไรที่กัดปลายประสาทอยู่นั้นตายจึงจะหายคัน นั้นคือ สุนัขต้องเกาถึงผิวหนังชั้นใน เลือดจึงออก (สุนัขมักเกาเลือดออกตอนกลางคืน โดยตอนเช้าจะเห็นผิวหนังบวมอักเสบ มีเลือดน้ำเหลืองออก แห้งติดผิวหนัง)
3) ตัวไรชิคเกอร์ ที่ติดมาจากพืช จะกัดผิวหนังเป็นแผลหลุมเล็กๆ ขยายกว้างเป็นวงเกือบกลม ตามแก้ม หัว คอ ล าตัว โรคผิวหนังที่เกิดจากตัวไรทั้ง 3 ชนิดนี้ รักษาได้โดยทาโลชั่นสมุนไพร KU Natural Miticide หรือ DemodexScrub สัปดาห์ละ 2-3 ครั้งติดต่อกัน 1-2 เดือน ถ้าเป็นตัวไรขี้เรื้อนเปียกที่เป็นมานานแล้ว เป็นทั้งตัว ต้องทาโลชั่น KU Natural Miticide หรือพ่นฟอกด้วย DemodexScrub ต่อเนื่องกันอย่างน้อย 6 เดือน เพื่อคอยฆ่าตัวไรที่ฟักขึ้นมานั้นให้ตายหมด ไม่ลงไปวางไข่อีก ส่วนผิวหนังที่ถูกเกาจนเลือดออกอักเสบ ให้ทาด้วย KU healer ดังรูปขวาบน เป็นขี้เรื้อนเปียกและยีสต์ทั่วตัว เมื่อพ่นผิวหนังด้วย DemodexScrub 2 ครั้งและทาผิวหนังด้วย KU Healer วันละ 1 ครั้ง ติดต่อกันเป็นเวลา 1 สัปดาห์ ผิวหนังที่อักเสบเลือดออก และแผลที่สุนัขเกาจนหนังหลุดหายเป็นปกติ ดัง รูปขวาล่างนี้ และขนขึ้นเป็นปกติเมื่อ 5 สัปดาห์ แล้วพ่นต่อสัปดาห์ละ 1 ครั้งจนผิวหนังเรียบต่อเนื่องเกิน 6 เดือน และต้องกันสุนัขไม่ให้ไปเล่นกับสุนัขตัวอื่นที่เป็นขี้เรื้อนอีก ถ้าไปติดมาใหม่ก็เป็นใหม่อีก
โรคผิวหนังที่เกิดจากเชื้อยีสต์ เป็นเชื้อพวกมาลาสซีเซีย ที่พบได้บนผิวหนังในสุนัขปกติ แต่ถ้าไม่ค่อยได้อาบน้ำด้วยแชมพูเพื่อเอาไขมันตัวออก หรืออาบน้ำด้วยแชมพูที่ผสมน้ำาก่อน ท าให้แชมพูจางจึงล้างไขมันผิวหนังออกไม่หมด เชื้อนี้ก็จะได้อาหาร (ไขมันผิวหนัง) เจริญเพิ่มจำนวนมากขึ้น เจริญติดที่ผิวหนังชั้นนอกสุด (ชั้นขี้ไคล) จนร่างกายสร้างสารฮีสตามีนต่อต้าน ผิวหนังจึงแดงและคันยิบๆจนต้องสะบัดตัว สะบัดหู ตลอดเวลา และเห็นเชื้อที่แก่แห้งเป็นผง แผ่นสีครีมเปียกไขมัน ติดขนและผิวหนัง ที่ด้านในใบหู (ดังรูปข้างล่างนี้) คอ หัวไหล่ ด้านหน้าข้อศอกและขาหน้า ด้านหลังขาหลัง ด้านบนฝ่าเท้าและซอกเล็บ ถ้าเป็นน้อยขนยังไม่ร่วง ถ้าเป็นนาน ซึ่งผิวหนังแดงต่อเนื่องนานและสุนัขเลียตลอดเวลา ขนจะร่วงและผิวหนังจะหนาคล้ายหนังช้าง รักษาโดยให้ตัดขนสั้นติดหนังทั้งตัว เพื่อจะได้พ่นฟอกขัดผิวหนังชั้นขี้ไคล ด้วย MalasScrub และผ้าขัดตัว ฟอกให้ทั่วตัวนาน 4 นาที ล้างออก ทุกสัปดาห์ละ 3 ครั้ง เพื่อล้างไขมันและเชื้อที่หนังชั้นขี้ไคลออก (ห้ามใช้เล็บเกา ห้ามใช้หวีหรือแปรงขูดหนัง) แล้วเช็ดผิวหนัง ถูไปมาเบาๆ ด้วย เคยูโลชั่นทองพันชั่ง หรือ เคยูโลชั่นตะไคร้หอม หรือ KU Natural Miticide หรือ AntiRedItch วันละ 1 ครั้ง (เพราะเชื้อสามารถเจริญแบ่งตัวได้ภายใน 1 วัน จึงต้องเช็ดฆ่าเชื้อให้ทั่วถึงทั้งตัว ทุกวัน) จนกว่าเชื้อจะหมด คือหนังหายแดง ผิวหนังที่มีเชื้อเกาะอยู่ หนังจะแดง และแดงเห็นชัดเมื่อเช็ดด้วยโลชั่นเคยูดังกล่าว เมื่อเช็ดจนเชื้อไม่มีแล้ว ผิวหนังจะไม่แดงเวลาเช็ดถูอีกและสุนัขไม่สะบัดตัว หลังจากนั้นให้พ่นสุนัขด้วย MalasScrub สัปดาห์ละ 1-2 ครั้ง คุมเชื้อไว้ไม่ให้เจริญมากขึ้นจนหนังแดง สะบัดตัว หรือสุนัขเลียหนังอีก การที่สุนัขเลียด้านบนอุ้งเท้า เพราะมีเชื้อที่ติดหนังตรงซอกนิ้ว ซอกเล็บ ให้ใช้ไม้พันผ้ากอสชุบ MalasScrub แทงถูๆเข้าร้องระหว่างนิ้วและข้างๆเล็บให้ทั่วถึง ห้ามอ้าถ่างนิ้วสุนัข เพราะเราไปหักนิ้วสุนัข สุนัขจะเจ็บมากจนกัดเราได้ ส่วนตรงหนังที่ขนร่วงและหนังหนาเป็นหนังช้างแล้ว ให้ทาด้วย KU cream (ครีมขี้เรื้อนเชื้อรา) วันละ 1 ครั้งติดต่อกัน 5 สัปดาห์ ขนจะขึ้นถ้าหนังส่วนนั้นยังมีรากขนอยู่ และล้างไขมันตัวสุนัขที่ติดพื้นนอน ด้วย MalasScrub ให้สะอาดอย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง เพื่อฆ่าเชื้อบนพื้น และล้างไขมันตัวสุนัขที่ติดพื้นนอนด้วย
โรคผิวหนังที่เกิดจากเชื้อรา มี 2 กลุ่มคือ กลุ่มเชื้อราที่ก่อโรค และกลุ่มเชื้อราที่ฉวยโอกาส เชื้อราที่ก่อโรค เช่น เชื้อไมโครสปอรัม เคนิส, เชื้อไมโครสปอรัม จิบเซี่ยม, เชื้อไตรโครไฟตัน เมนตาโกรไฟท์ ซึ่งเมื่อติดบนผิวหนัง จะเจริญลึกถึผิวหนังชั้นในเจริญลุกลามเป็นวงกลม ขนจะร่วงเป็นวงกลม (ดังรูปข้างล่างซ้าย) ผิวหนังจะแดงนูนที่ขอบวงที่ขนร่วง เนื่องจากเชื้อราเหล่านี้จะเจริญขยายออกรอบทิศเป็นรัศมี ส่วนรูปล่างขวา เกิดจากเชื้อราฉวยโอกาส
ส่วนเชื้อราฉวยโอกาสที่พบบ่อย เช่น เชื้อเคอวูลาเรีย, เชื้อแอสเปอจิรัส ขนจะร่วงเป็นหย่อมๆ ไม่เป็นวงกลม มีรังแคแห้งๆบนหนัง ให้พ่นสุนัขด้วย MalasScrub หรืออาบน้ำด้วยแชมพูที่ไม่แพ้ เช่น KU Hypo-allergic shampoo น้ำมันผิวส้ม หรือ KU Hypo-allergic shampoo น้ำมันผิวมะกรูด สัปดาห์ละ 2-3 ครั้ง แล้วเช็ดผิวหนังด้วย เคยูโลชั่นทองพันชั่ง เคยูโลชั่นตะไคร้หอม หรือ เคยูเนเจอรัลไมติไซด์ วันละ 1 ครั้ง เช็ดฆ่าเชื้อให้ทั่วถึงทั้งตัว และตรงผิวหนังหนา ด้าน ด า ให้ทาด้วย KU cream วันละ 1 ครั้ง พร้อมพ่น MalasScrub ที่พื้นสุนัขนอน ล้างสปอร์ของเชื้อราที่หล่นตามพื้นนอนนั้นให้หลุดไปด้วย
3. ผลิตภัณฑ์รักษาแผลและผิวหนังอักเสบ (KU Healer) ครีมสมุนไพรรักษาแผลเรียกเนื้อ และรักษาผิวหนังอักเสบแฉะ แผลเกาจนเลือดออก ตุ่มขนอักเสบ แผลฝีแตก แผลต่อมข้างก้นอักเสบ ถ้าทาแล้วปิดแผลด้วยผ้ากอสชุบยาไว้พร้อมพันด้วยผ้ายืดได้ไม่หลุด ก็สามารถเว้น 2 วันแล้วค่อยเปลี่ยนได้
4. สมุนไพรผง FIP Herb กินบำรุงรักษา Feline leukemia, Feline Infectious Peritonitis ซึ่งเวลาคลำท้องแมวแล้วจะพบว่าลำไส้แมวจะเกาะติดกันเป็นก้อนนิ่มแน่น ไม่หลวมลื่นเหมือนปกติ และเจาะเลือดตรวจยืนยันด้วย โดยให้แมวกินวันละ 1-2 ครั้งเป็นเวลา 1-2 เดือน จนท้องไม่ห้อย กินอาหารได้ดีเป็นปกติ หรือค่าเม็ดเลือดในแมวที่เป็น leukemia เป็นปกติ ก็หยุดกิน
Link https://kah.kasetanimalhospital.com
+++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++
โรงพยาบาลโรคผิวหนัง บางเขน
สถาบันโรคผิวหนังบางเขน Institute Of Dermatology
ที่อยู่ :
-
แขวงอนุสาวรีย์ (กรุงเทพ-แขวง) เขตบางเขน กรุงเทพฯ
Link https://landmark.edtguide.com
+++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++