โรคกล้ามเนื้อเสื่อม วิธีรักษาโรคกล้ามเนื้อเกร็งตัว โรคกล้ามเนื้อหดเกร็ง


919 ผู้ชม


โรคกล้ามเนื้อเสื่อม วิธีรักษาโรคกล้ามเนื้อเกร็งตัว โรคกล้ามเนื้อหดเกร็ง

             โรคกล้ามเนื้อเสื่อม

โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง มัยแอสทีเนีย กราวิส


โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง หรือ โรคเอ็มจี
โรคมัยแอสทีเนีย กราวิส หรือ โรคเอ็มจี


เรียบเรียงข้อมูลโดยกระปุกดอทคอม
ขอขอบคุณภาพประกอบจาก wikipedia
          พลัน ที่ดาราสาว โอ๋ ภัคจีรา ออกมาเปิดเผยว่า เธอกำลังทนทุกข์กับโรคมัยแอสทีเนีย กราวิส หรือ โรคเอ็มจี ซึ่งเป็น โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรงประเภทหนึ่ง ก็ทำให้คนทั่วไปสงสัยกันมากขึ้นว่า โรคมัยแอสทีเนียกราวิส หรือ โรคเอ็มจี นี้คือโรคอะไรกันแน่ แล้วมีอาการเป็นอย่างไรบ้างรักษาได้หรือไม่ วันนี้กระปุกดอทคอมมีคำตอบมาบอกกันค่ะ
          สำหรับ โรคมัยแอสทีเนีย กราวิส (myasthenia gravis) หรือ โรคเอ็มจีที่ฟังดูชื่อแปลก ๆ เพราะเป็นชื่อภาษากรีกและละติน มีความหมายว่า "gravemuscular weakness" ซึ่งเป็นโรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง ประเภทหนึ่ง มัก เกิดกับกล้ามเนื้อเล็ก ๆ บริเวณใบหน้าโดยมีการทำงานสื่อสารกันระหว่างเส้นประสาท และกล้ามเนื้อลายผิดปกติทำให้เกิดกล้ามเนื้ออ่อนแรง 
          ทั้งนี้ โรคมัยแอสทีเนียกราวิส ไม่ใช่โรคใหม่ แต่เป็นโรคที่มีมานานแล้วโดยมีการบันทึกว่าพบผู้ป่วยโรคมัยแอสทีเนีย กราวิส มาตั้งแต่ 300 ปีก่อน
โรคกล้ามเนื้อเสื่อม วิธีรักษาโรคกล้ามเนื้อเกร็งตัว โรคกล้ามเนื้อหดเกร็ง มักพบโรคโรคมัยแอสทีเนีย กราวิสในกลุ่มใด
         โรค มัยแอสทีเนีย กราวิส มักเกิดกับผู้ใหญ่ และพบในเพศหญิงมากกว่าเพศชายแต่หากอาการของโรคมัยแอสทีเนีย กราวิส เริ่มเป็นหลังอายุ 40 ปีจะพบในเพศชายมากกว่าเพศหญิง
โรคกล้ามเนื้อเสื่อม วิธีรักษาโรคกล้ามเนื้อเกร็งตัว โรคกล้ามเนื้อหดเกร็ง อาการของโรคมัยแอสทีเนีย กราวิส
          ผู้ป่วยโรคมัยแอสทีเนีย กราวิส จะมีอาการหนังตาตก ตาพร่ามัว พูดไม่ชัด เคี้ยวและกลืนลำบาก เพราะมีการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อใบหน้า
         แต่ หากเป็นมากก็อาจทำให้กล้ามเนื้อทั้งตัว เช่นกล้ามเนื้อแขนและขาอ่อนแรงลงได้ รวมทั้งกล้ามเนื้อที่เกี่ยวกับระบบหายใจทำให้หายใจลำบาก ไอไม่ได้ หรือหากรุนแรงมาก ๆสามารถทำให้ระบบหายใจล้มเหลวได้เลยทีเดียวแต่สำหรับกล้ามเนื้อหัวใจและ กล้ามเนื้อเรียบต่าง ๆในร่างกายจะไม่ได้รับผลกระทบไปด้วย

โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง หรือ โรคเอ็มจี
โรคมัยแอสทีเนีย กราวิส หรือ โรคเอ็มจี


          โรคมัยแอสทีเนีย กราวิส จัดเป็นโรคเรื้อรัง อาการต่าง ๆ มักเป็น ๆ หาย ๆ อยู่ตลอดเวลา และอาการจะดีขึ้นเองหลังจากหยุดพักใช้งานแต่ มีปัจจัยหลายอย่างที่ทำให้อาการโรคนี้รุนแรงขึ้น ได้แก่ การติดเชื้อเป็นไข้ ร้อนหรือเย็นเกินไป เครียด ออกแรงมากเกินไป มีประจำเดือน ตั้งครรภ์โรคเกี่ยวกับไทรอยด์ และการทานยาบางชนิด
          ทั้งนี้ผู้ป่วยโรคมัยแอสทีเนีย กราวิสส่วนใหญ่จะมีอาการอย่างค่อยเป็นค่อยไปโดยใช้เวลาเป็นสัปดาห์จนถึง เดือนแต่ในบางรายอาจมีอาการรุนแรงฉับพลันได้ เช่น มีภาวะหัวใจล้มเหลวโดยมักมีอาการเปลี่ยนแปลงได้มากในช่วง 4 ปีแรก และมีอาการรุนแรงมากในช่วง 3ปีแรก แต่หลังจากนั้นอาการจะคงที่ และค่อย ๆ ดีขึ้น โดยใช้เวลาเป็นปี ๆหากได้รับการวินิจฉัย และการรักษาที่ถูกต้อง
          นอกจากนี้ ในเด็กบางคนที่เป็นโรคมัยแอสทีเนีย กราวิส ตั้งแต่เกิด จะมีอาการแขนขาอ่อนแรง และขยับได้น้อย ส่วนเด็กที่เกิดจากมารดาที่เป็นโรคนี้ จะมีอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรงตั้งแต่แรกคลอด และเป็นอยู่ราว 2 สัปดาห์ ก่อนจะหายได้เอง
โรคกล้ามเนื้อเสื่อม วิธีรักษาโรคกล้ามเนื้อเกร็งตัว โรคกล้ามเนื้อหดเกร็ง สาเหตุของโรคมัยแอสทีเนีย กราวิส
          มีสาเหตุ 4 ประการที่ทำให้เกิดโรคมัยแอสทีเนีย กราวิส ได้ คือ
          โรคกล้ามเนื้อเสื่อม วิธีรักษาโรคกล้ามเนื้อเกร็งตัว โรคกล้ามเนื้อหดเกร็ง 1.ร่างกายผู้ป่วยสร้างแอนติบอดี้ต่อโปรตีนชนิดหนึ่ง ซึ่งทำหน้าที่เป็นตัวรับสารอะซิติลโคลีนโดย มักพบว่า ในตัวผู้ป่วยโรคมัยแอสทีเนีย กราวิสจะมีโปรตีนตัวรับสารอะซิติลโคลีนน้อยกว่าคนปกติถึงหนึ่งในสามเพราะ ร่างกายสร้างแอนติบอดี้มากำจัดโปรตีนชนิดนี้ไปเกือบหมด
          โรคกล้ามเนื้อเสื่อม วิธีรักษาโรคกล้ามเนื้อเกร็งตัว โรคกล้ามเนื้อหดเกร็ง 2.สารอะซิติลโคลีน ซึ่งมีบทบาทสำคัญต่อการหดตัวของกล้ามเนื้อ ไม่สามารถทำงานได้ แม้ร่างกายจะหลั่งสารนี้ออกมาอย่างปกติ เนื่องจากโปรตีนตัวรับถูกทำลายโดยแอนติบอดี้ที่ร่างกายสร้างขึ้น
          โรคกล้ามเนื้อเสื่อม วิธีรักษาโรคกล้ามเนื้อเกร็งตัว โรคกล้ามเนื้อหดเกร็ง 3.กรรมพันธุ์พบ ผู้ป่วยโรคมัยแอสทีเนีย กราวิสบางรายมีญาติพี่้น้องป่วยเป็นโรคเดียวกันนี้เช่นกัน แม้ส่วนใหญ่จะพบว่าโรคมัยแอสทีเนีย กราวิสมักเกิดจากความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายก็ตาม
          โรคกล้ามเนื้อเสื่อม วิธีรักษาโรคกล้ามเนื้อเกร็งตัว โรคกล้ามเนื้อหดเกร็ง 4. ความผิดปกติของต่อมไธมัส ทำ ให้เกิดโรคมัยแอสทีเนีย กราวิส ได้เช่นกัน โดยพบว่าเกิดจากเนื้องอกถึงร้อยละ 10 และเกิดจากต่อมไธมัสโตผิดปกติมากถึงร้อยละ 70ซึ่งจะทำให้เกิดการสร้างแอนติบอดีต่อโปรตีนตัวรับสารอะซิติลโคลีนในปริมาณ สูง จึงส่งผลต่อการหดตัวของกล้ามเนื้อตามมา ดังนั้นจึงมักพบผู้ป่วยที่อายุระหว่าง 30-60 ปี ราวร้อยละ 20มีอาการเนื้องอกที่ต่อมไธมัสด้วย
โรคกล้ามเนื้อเสื่อม วิธีรักษาโรคกล้ามเนื้อเกร็งตัว โรคกล้ามเนื้อหดเกร็ง การวินิจฉัย โรคมัยแอสทีเนีย กราวิส
         แพทย์ จะวินิจฉัยโดยการซักถามประวัติอย่างละเอียด และตรวจร่างกายระบบต่างๆ  รวมทั้งระบบประสาท และทดสอบด้วยวิธีอื่น ๆ เพิ่มเติม เพื่อยืนยันว่าเป็นโรคมัยแอสทีเนีย กราวิส หรือไม่
โรคกล้ามเนื้อเสื่อม วิธีรักษาโรคกล้ามเนื้อเกร็งตัว โรคกล้ามเนื้อหดเกร็ง การรักษา โรคมัยแอสทีเนีย กราวิส
         มัก พบผู้ป่วยโรคมัยแอสทีเนีย กราวิส มีอาการร่วมกับโรคลูปัส (โรคเอสแอลอีหรือโรคพุ่มพวง) โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ หรือโรคเบาหวานประเภทที่หนึ่งโดยในสมัยก่อนผู้ป่วยโรคนี้มีอัตราการเสีย ชีวิตสูงมากแต่เมื่อค้นพบยารักษาโรคได้ จึงทำให้อัตรายการตายของผู้ป่วยโรคนี้ลดลง
โดยโรคนี้สามารถรักษาได้ด้วย
          โรคกล้ามเนื้อเสื่อม วิธีรักษาโรคกล้ามเนื้อเกร็งตัว โรคกล้ามเนื้อหดเกร็งการ ให้ยาต้านฤทธิ์ของเอนไซม์โคลีนเอสเทอเรสทำให้สารอะซิติลโคลีนไม่ถูกทำลาย และการที่มีสารนี้อยู่นานขึ้นก็สามารถจับกับตัวรับได้มากขึ้น ช่วยให้ออกฤทธิ์ได้ดีขึ้น
          โรคกล้ามเนื้อเสื่อม วิธีรักษาโรคกล้ามเนื้อเกร็งตัว โรคกล้ามเนื้อหดเกร็ง การให้ยาในกลุ่มคอร์ติโคสเตียรอยด์ ช่วยให้อาการดีขึ้นหรืออาการหายขาดได้มากถึงร้อยละ 75 ของผู้ป่วยทั้งหมด
โรคกล้ามเนื้อเสื่อม วิธีรักษาโรคกล้ามเนื้อเกร็งตัว โรคกล้ามเนื้อหดเกร็ง
ภาพประกอบจากอินเทอร์เน็ต

.....

 เพ็ญพิชชากร แสนคำ นักกายภาพบำบัด ผู้เชี่ยวชาญด้านการปรับโครงสร้างร่างกาย ให้ข้อมูลเรื่องความเครียดที่เกิดขึ้นในช่วงที่สถานการณ์ทางเศรษฐกิจและการเมืองรุมเร้า โดยระบุว่า ความเครียดแบ่งออกได้ 2 ชนิด

                                          โรคกล้ามเนื้อเสื่อม วิธีรักษาโรคกล้ามเนื้อเกร็งตัว โรคกล้ามเนื้อหดเกร็ง

    1. Acute stress เป็นความเครียดที่เกิดขึ้นในทันทีและร่างกายก็จะตอบสนองโดยการแสดงออกมา ทันที ซึ่งความเครียดนี้จะเกิดขึ้นเพียงชั่วครู่ เกิดผลกระทบต่อสภาพร่างกายและจิตใจไม่นาน แต่ถ้าบ่อยก็จะส่งผลเป็นความเครียดแบบเรื้อรังได้
    2. Chronic stress เป็นความเครียดที่เกิดขึ้นซ้ำๆ กับภาวะร่างกายและจิตใจทุกๆวันอย่างเลี่ยงไม่ได้ เช่น ปัญหาเศรษฐกิจตกต่ำที่รุมเร้าคนในสังคมปัจจุบัน ความเครียดจากปัญหาการทำงานที่เป็นภาวะที่ไม่อาจเลี่ยงได้ ความหน้าเบื่อจากการทำงาน จากเพื่อนร่วมงาน จากเจ้านาย แต่ไม่มีทางเลือกและไม่อาจจะแสดงออกมาได้ ฯลฯ
     ความเครียดชนิดนี้จะค่อยๆ บั่นทอนสุขภาพร่างกายและจิตใจอย่างช้าๆ โดยไม่รู้สึกตัวได้ เป็นการฝังลึกลงในจิตใต้สำนึก ทุกครั้งที่เกิดภาวะเครียด โดยเฉพาะความ เครียดเรื้อรังนั้นมีผลโดยตรงต่อการทำงานของร่างกาย ทุกระบบจะทำงานหนักมากขึ้นอย่างปฏิเสธไม่ได้
     เมื่อภายใต้จิตสำนึกของคุณเครียด ร่างกายจะหลั่งฮอร์โมนชนิดหนึ่งเรียกว่า อะดรีนาลิน ผลของฮอร์โมนชนิดนี้กระทบและเป็นผลเสียต่อร่างกายอย่างมาก เมื่อร่างกายมีการหลั่งจะทำให้หลอดเลือดในร่างกายบีบตัว การไหลเวียนของเลือดไปสู่อวัยวะต่างๆ น้อยลง หัวใจต้องทำงานหนักบีบตัวสูงขึ้น ความดันเพิ่มขึ้น แต่หากมีภาวะไขมันในหลอดเลือดก็อาจเสี่ยงต่อการเป็นเลือดอุดตัน ภาวะขาดเลือดในอวัยวะสำคัญๆ เช่น หัวใจ สมอง เป็นต้น การทำงานของอวัยวะต่างๆ ด้อยประสิทธิภาพลง เช่น หายใจไม่อิ่ม เหนื่อยง่าย กระเพาะอาหารหลั่งกรดออกมามาก ท้องอืด อาหารไม่ย่อย ท้องผูก ร่างกายขับพิษไม่ได้ ตับและไตก็ต้องทำงานหนักขึ้น สมรรถภาพทางเพศลดลง ปวดเมื่อยตามร่างกาย หงุด หงิด ไม่มีสมาธิ ระบบภายในร่างกายต้องทำงานสูงเกิดการดึงอินซูลินในระบบเลือดมาใช้ กระตุ้นให้กินมาก เกิดโรคอ้วนได้ ฯลฯ
    
อาการ ทางร่างกายที่บ่งบอกได้ง่ายที่สุดคือ อาการของระบบกระดูกกล้ามเนื้อ เมื่อเครียดฮอร์โมนที่เป็นตัวร้ายจะเริ่มคุกคาม ทำให้กล้ามเนื้อเกร็งตัวมากกว่าปกติ จนรู้สึกเมื่อยล้าในร่างกายอย่างบอกไม่ถูก ไม่กระปรี้กระเปร่า ง่วงนอน หาวบ่อยๆ

      กล้ามเนื้อส่วนที่มีปัญหามากที่สุดก็คือ กล้ามเนื้อบริเวณบ่าและคอ กล้ามเนื้อเหล่านี้จะเป็นมัดเล็กๆ เป็นริ้วๆ เกาะตามขอบของท้าย ทอย เป็นทางผ่านของหลอดเลือดที่เลี้ยงสมอง และเลี้ยงอวัยวะต่างๆ บนศีรษะ บริเวณนี้จะเตือนคุณได้มากที่สุด คุณจะปวดคอ ปวดบ่า บางรายร้าวไปที่หลัง รอบสะบัก หายใจแล้วเสียวในช่องอก มากขึ้นเรื่อยขนาดปวดร้าวขึ้นศีรษะ เหมือนเป็นไมเกรน เนื่องจากกล้ามเนื้อหดตัวมากเลือดไปเลี้ยงสมองไม่พอ ตา ปากอาจกระตุกด้วย 

                                          โรคกล้ามเนื้อเสื่อม วิธีรักษาโรคกล้ามเนื้อเกร็งตัว โรคกล้ามเนื้อหดเกร็ง
     โรคกล้ามเนื้อเสื่อม วิธีรักษาโรคกล้ามเนื้อเกร็งตัว โรคกล้ามเนื้อหดเกร็ง  การดูแลให้ถูกทาง คือทำกล้ามเนื้อให้มีความยืดหยุ่นดี กระดูกควรอยู่ในแนวที่ปกติ เส้นเลือด เส้นประสาทระบบขับสารเสีย ระบบน้ำเหลืองไหลเวียนได้ดี ไม่ใช่แค่การไปคลายที่คออย่างเดียว เพราะกล้ามเนื้อเกี่ยวพันกันอยู่ทุกส่วน ควรปรับสมดุลให้โครงสร้างร่างกาย เพราะถ้าปรับสภาวะให้โครงสร้างสมดุลแล้วระบบเลือด น้ำเหลือง เส้นประสาทจะไหลเวียนได้เต็มที่ มีผลให้ร่างกายหลั่งฮอร์โมนชนิดดีที่จะทำงานตรงกันข้ามกับอะดรีนาลิน นั่นคือเอ็นดอร์ฟิน ซึ่งเป็นสารสุขให้กับร่างกาย
      
หาก ต้องการดูแลด้วยตนเองก่อน ควรผ่อนคลายด้วยการนวดเบาๆ อบ/ประคบร้อน ไม่ควรทำแรงบริเวณคอ เพราะมีเส้นเลือดและกล้ามเนื้อที่สำคัญมาก หากต้องการรักษาก็ต้องเป็นผู้เชี่ยวชาญในเรื่องของระบบกระดูกกล้ามเนื้อจะดี กว่า ควรหลีกเลี่ยงการใช้ยาเพราะจะส่งผลเสียมากขึ้น

โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง มัยแอสทีเนีย กราวิส


โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง หรือ โรคเอ็มจี
โรคมัยแอสทีเนีย กราวิส หรือ โรคเอ็มจี


เรียบเรียงข้อมูลโดยกระปุกดอทคอม
ขอขอบคุณภาพประกอบจาก wikipedia
          พลัน ที่ดาราสาว โอ๋ ภัคจีรา ออกมาเปิดเผยว่า เธอกำลังทนทุกข์กับโรคมัยแอสทีเนีย กราวิส หรือ โรคเอ็มจี ซึ่งเป็น โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรงประเภทหนึ่ง ก็ทำให้คนทั่วไปสงสัยกันมากขึ้นว่า โรคมัยแอสทีเนียกราวิส หรือ โรคเอ็มจี นี้คือโรคอะไรกันแน่ แล้วมีอาการเป็นอย่างไรบ้างรักษาได้หรือไม่ วันนี้กระปุกดอทคอมมีคำตอบมาบอกกันค่ะ
          สำหรับ โรคมัยแอสทีเนีย กราวิส (myasthenia gravis) หรือ โรคเอ็มจีที่ฟังดูชื่อแปลก ๆ เพราะเป็นชื่อภาษากรีกและละติน มีความหมายว่า "gravemuscular weakness" ซึ่งเป็นโรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง ประเภทหนึ่ง มัก เกิดกับกล้ามเนื้อเล็ก ๆ บริเวณใบหน้าโดยมีการทำงานสื่อสารกันระหว่างเส้นประสาท และกล้ามเนื้อลายผิดปกติทำให้เกิดกล้ามเนื้ออ่อนแรง 
          ทั้งนี้ โรคมัยแอสทีเนียกราวิส ไม่ใช่โรคใหม่ แต่เป็นโรคที่มีมานานแล้วโดยมีการบันทึกว่าพบผู้ป่วยโรคมัยแอสทีเนีย กราวิส มาตั้งแต่ 300 ปีก่อน
โรคกล้ามเนื้อเสื่อม วิธีรักษาโรคกล้ามเนื้อเกร็งตัว โรคกล้ามเนื้อหดเกร็ง มักพบโรคโรคมัยแอสทีเนีย กราวิสในกลุ่มใด
         โรค มัยแอสทีเนีย กราวิส มักเกิดกับผู้ใหญ่ และพบในเพศหญิงมากกว่าเพศชายแต่หากอาการของโรคมัยแอสทีเนีย กราวิส เริ่มเป็นหลังอายุ 40 ปีจะพบในเพศชายมากกว่าเพศหญิง
โรคกล้ามเนื้อเสื่อม วิธีรักษาโรคกล้ามเนื้อเกร็งตัว โรคกล้ามเนื้อหดเกร็ง อาการของโรคมัยแอสทีเนีย กราวิส
          ผู้ป่วยโรคมัยแอสทีเนีย กราวิส จะมีอาการหนังตาตก ตาพร่ามัว พูดไม่ชัด เคี้ยวและกลืนลำบาก เพราะมีการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อใบหน้า
         แต่ หากเป็นมากก็อาจทำให้กล้ามเนื้อทั้งตัว เช่นกล้ามเนื้อแขนและขาอ่อนแรงลงได้ รวมทั้งกล้ามเนื้อที่เกี่ยวกับระบบหายใจทำให้หายใจลำบาก ไอไม่ได้ หรือหากรุนแรงมาก ๆสามารถทำให้ระบบหายใจล้มเหลวได้เลยทีเดียวแต่สำหรับกล้ามเนื้อหัวใจและ กล้ามเนื้อเรียบต่าง ๆในร่างกายจะไม่ได้รับผลกระทบไปด้วย

โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง หรือ โรคเอ็มจี
โรคมัยแอสทีเนีย กราวิส หรือ โรคเอ็มจี


          โรคมัยแอสทีเนีย กราวิส จัดเป็นโรคเรื้อรัง อาการต่าง ๆ มักเป็น ๆ หาย ๆ อยู่ตลอดเวลา และอาการจะดีขึ้นเองหลังจากหยุดพักใช้งานแต่ มีปัจจัยหลายอย่างที่ทำให้อาการโรคนี้รุนแรงขึ้น ได้แก่ การติดเชื้อเป็นไข้ ร้อนหรือเย็นเกินไป เครียด ออกแรงมากเกินไป มีประจำเดือน ตั้งครรภ์โรคเกี่ยวกับไทรอยด์ และการทานยาบางชนิด
          ทั้งนี้ผู้ป่วยโรคมัยแอสทีเนีย กราวิสส่วนใหญ่จะมีอาการอย่างค่อยเป็นค่อยไปโดยใช้เวลาเป็นสัปดาห์จนถึง เดือนแต่ในบางรายอาจมีอาการรุนแรงฉับพลันได้ เช่น มีภาวะหัวใจล้มเหลวโดยมักมีอาการเปลี่ยนแปลงได้มากในช่วง 4 ปีแรก และมีอาการรุนแรงมากในช่วง 3ปีแรก แต่หลังจากนั้นอาการจะคงที่ และค่อย ๆ ดีขึ้น โดยใช้เวลาเป็นปี ๆหากได้รับการวินิจฉัย และการรักษาที่ถูกต้อง
          นอกจากนี้ ในเด็กบางคนที่เป็นโรคมัยแอสทีเนีย กราวิส ตั้งแต่เกิด จะมีอาการแขนขาอ่อนแรง และขยับได้น้อย ส่วนเด็กที่เกิดจากมารดาที่เป็นโรคนี้ จะมีอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรงตั้งแต่แรกคลอด และเป็นอยู่ราว 2 สัปดาห์ ก่อนจะหายได้เอง
โรคกล้ามเนื้อเสื่อม วิธีรักษาโรคกล้ามเนื้อเกร็งตัว โรคกล้ามเนื้อหดเกร็ง สาเหตุของโรคมัยแอสทีเนีย กราวิส
          มีสาเหตุ 4 ประการที่ทำให้เกิดโรคมัยแอสทีเนีย กราวิส ได้ คือ
          โรคกล้ามเนื้อเสื่อม วิธีรักษาโรคกล้ามเนื้อเกร็งตัว โรคกล้ามเนื้อหดเกร็ง 1.ร่างกายผู้ป่วยสร้างแอนติบอดี้ต่อโปรตีนชนิดหนึ่ง ซึ่งทำหน้าที่เป็นตัวรับสารอะซิติลโคลีนโดย มักพบว่า ในตัวผู้ป่วยโรคมัยแอสทีเนีย กราวิสจะมีโปรตีนตัวรับสารอะซิติลโคลีนน้อยกว่าคนปกติถึงหนึ่งในสามเพราะ ร่างกายสร้างแอนติบอดี้มากำจัดโปรตีนชนิดนี้ไปเกือบหมด
          โรคกล้ามเนื้อเสื่อม วิธีรักษาโรคกล้ามเนื้อเกร็งตัว โรคกล้ามเนื้อหดเกร็ง 2.สารอะซิติลโคลีน ซึ่งมีบทบาทสำคัญต่อการหดตัวของกล้ามเนื้อ ไม่สามารถทำงานได้ แม้ร่างกายจะหลั่งสารนี้ออกมาอย่างปกติ เนื่องจากโปรตีนตัวรับถูกทำลายโดยแอนติบอดี้ที่ร่างกายสร้างขึ้น
          โรคกล้ามเนื้อเสื่อม วิธีรักษาโรคกล้ามเนื้อเกร็งตัว โรคกล้ามเนื้อหดเกร็ง 3.กรรมพันธุ์พบ ผู้ป่วยโรคมัยแอสทีเนีย กราวิสบางรายมีญาติพี่้น้องป่วยเป็นโรคเดียวกันนี้เช่นกัน แม้ส่วนใหญ่จะพบว่าโรคมัยแอสทีเนีย กราวิสมักเกิดจากความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายก็ตาม
          โรคกล้ามเนื้อเสื่อม วิธีรักษาโรคกล้ามเนื้อเกร็งตัว โรคกล้ามเนื้อหดเกร็ง 4. ความผิดปกติของต่อมไธมัส ทำ ให้เกิดโรคมัยแอสทีเนีย กราวิส ได้เช่นกัน โดยพบว่าเกิดจากเนื้องอกถึงร้อยละ 10 และเกิดจากต่อมไธมัสโตผิดปกติมากถึงร้อยละ 70ซึ่งจะทำให้เกิดการสร้างแอนติบอดีต่อโปรตีนตัวรับสารอะซิติลโคลีนในปริมาณ สูง จึงส่งผลต่อการหดตัวของกล้ามเนื้อตามมา ดังนั้นจึงมักพบผู้ป่วยที่อายุระหว่าง 30-60 ปี ราวร้อยละ 20มีอาการเนื้องอกที่ต่อมไธมัสด้วย
โรคกล้ามเนื้อเสื่อม วิธีรักษาโรคกล้ามเนื้อเกร็งตัว โรคกล้ามเนื้อหดเกร็ง การวินิจฉัย โรคมัยแอสทีเนีย กราวิส
         แพทย์ จะวินิจฉัยโดยการซักถามประวัติอย่างละเอียด และตรวจร่างกายระบบต่างๆ  รวมทั้งระบบประสาท และทดสอบด้วยวิธีอื่น ๆ เพิ่มเติม เพื่อยืนยันว่าเป็นโรคมัยแอสทีเนีย กราวิส หรือไม่
โรคกล้ามเนื้อเสื่อม วิธีรักษาโรคกล้ามเนื้อเกร็งตัว โรคกล้ามเนื้อหดเกร็ง การรักษา โรคมัยแอสทีเนีย กราวิส
         มัก พบผู้ป่วยโรคมัยแอสทีเนีย กราวิส มีอาการร่วมกับโรคลูปัส (โรคเอสแอลอีหรือโรคพุ่มพวง) โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ หรือโรคเบาหวานประเภทที่หนึ่งโดยในสมัยก่อนผู้ป่วยโรคนี้มีอัตราการเสีย ชีวิตสูงมากแต่เมื่อค้นพบยารักษาโรคได้ จึงทำให้อัตรายการตายของผู้ป่วยโรคนี้ลดลง
โดยโรคนี้สามารถรักษาได้ด้วย
          โรคกล้ามเนื้อเสื่อม วิธีรักษาโรคกล้ามเนื้อเกร็งตัว โรคกล้ามเนื้อหดเกร็งการ ให้ยาต้านฤทธิ์ของเอนไซม์โคลีนเอสเทอเรสทำให้สารอะซิติลโคลีนไม่ถูกทำลาย และการที่มีสารนี้อยู่นานขึ้นก็สามารถจับกับตัวรับได้มากขึ้น ช่วยให้ออกฤทธิ์ได้ดีขึ้น
          โรคกล้ามเนื้อเสื่อม วิธีรักษาโรคกล้ามเนื้อเกร็งตัว โรคกล้ามเนื้อหดเกร็ง การให้ยาในกลุ่มคอร์ติโคสเตียรอยด์ ช่วยให้อาการดีขึ้นหรืออาการหายขาดได้มากถึงร้อยละ 75 ของผู้ป่วยทั้งหมด

            Link      https://www.ichumphae.com

++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++


            วิธีรักษาโรคกล้ามเนื้อเกร็งตัว

โรคกล้ามเนื้อเสื่อม วิธีรักษาโรคกล้ามเนื้อเกร็งตัว โรคกล้ามเนื้อหดเกร็ง
ภาพประกอบจากอินเทอร์เน็ต

.....

 เพ็ญพิชชากร แสนคำ นักกายภาพบำบัด ผู้เชี่ยวชาญด้านการปรับโครงสร้างร่างกาย ให้ข้อมูลเรื่องความเครียดที่เกิดขึ้นในช่วงที่สถานการณ์ทางเศรษฐกิจและการเมืองรุมเร้า โดยระบุว่า ความเครียดแบ่งออกได้ 2 ชนิด

                                          โรคกล้ามเนื้อเสื่อม วิธีรักษาโรคกล้ามเนื้อเกร็งตัว โรคกล้ามเนื้อหดเกร็ง

    1. Acute stress เป็นความเครียดที่เกิดขึ้นในทันทีและร่างกายก็จะตอบสนองโดยการแสดงออกมา ทันที ซึ่งความเครียดนี้จะเกิดขึ้นเพียงชั่วครู่ เกิดผลกระทบต่อสภาพร่างกายและจิตใจไม่นาน แต่ถ้าบ่อยก็จะส่งผลเป็นความเครียดแบบเรื้อรังได้
    2. Chronic stress เป็นความเครียดที่เกิดขึ้นซ้ำๆ กับภาวะร่างกายและจิตใจทุกๆวันอย่างเลี่ยงไม่ได้ เช่น ปัญหาเศรษฐกิจตกต่ำที่รุมเร้าคนในสังคมปัจจุบัน ความเครียดจากปัญหาการทำงานที่เป็นภาวะที่ไม่อาจเลี่ยงได้ ความหน้าเบื่อจากการทำงาน จากเพื่อนร่วมงาน จากเจ้านาย แต่ไม่มีทางเลือกและไม่อาจจะแสดงออกมาได้ ฯลฯ
     ความเครียดชนิดนี้จะค่อยๆ บั่นทอนสุขภาพร่างกายและจิตใจอย่างช้าๆ โดยไม่รู้สึกตัวได้ เป็นการฝังลึกลงในจิตใต้สำนึก ทุกครั้งที่เกิดภาวะเครียด โดยเฉพาะความ เครียดเรื้อรังนั้นมีผลโดยตรงต่อการทำงานของร่างกาย ทุกระบบจะทำงานหนักมากขึ้นอย่างปฏิเสธไม่ได้
     เมื่อภายใต้จิตสำนึกของคุณเครียด ร่างกายจะหลั่งฮอร์โมนชนิดหนึ่งเรียกว่า อะดรีนาลิน ผลของฮอร์โมนชนิดนี้กระทบและเป็นผลเสียต่อร่างกายอย่างมาก เมื่อร่างกายมีการหลั่งจะทำให้หลอดเลือดในร่างกายบีบตัว การไหลเวียนของเลือดไปสู่อวัยวะต่างๆ น้อยลง หัวใจต้องทำงานหนักบีบตัวสูงขึ้น ความดันเพิ่มขึ้น แต่หากมีภาวะไขมันในหลอดเลือดก็อาจเสี่ยงต่อการเป็นเลือดอุดตัน ภาวะขาดเลือดในอวัยวะสำคัญๆ เช่น หัวใจ สมอง เป็นต้น การทำงานของอวัยวะต่างๆ ด้อยประสิทธิภาพลง เช่น หายใจไม่อิ่ม เหนื่อยง่าย กระเพาะอาหารหลั่งกรดออกมามาก ท้องอืด อาหารไม่ย่อย ท้องผูก ร่างกายขับพิษไม่ได้ ตับและไตก็ต้องทำงานหนักขึ้น สมรรถภาพทางเพศลดลง ปวดเมื่อยตามร่างกาย หงุด หงิด ไม่มีสมาธิ ระบบภายในร่างกายต้องทำงานสูงเกิดการดึงอินซูลินในระบบเลือดมาใช้ กระตุ้นให้กินมาก เกิดโรคอ้วนได้ ฯลฯ
    
อาการ ทางร่างกายที่บ่งบอกได้ง่ายที่สุดคือ อาการของระบบกระดูกกล้ามเนื้อ เมื่อเครียดฮอร์โมนที่เป็นตัวร้ายจะเริ่มคุกคาม ทำให้กล้ามเนื้อเกร็งตัวมากกว่าปกติ จนรู้สึกเมื่อยล้าในร่างกายอย่างบอกไม่ถูก ไม่กระปรี้กระเปร่า ง่วงนอน หาวบ่อยๆ

      กล้ามเนื้อส่วนที่มีปัญหามากที่สุดก็คือ กล้ามเนื้อบริเวณบ่าและคอ กล้ามเนื้อเหล่านี้จะเป็นมัดเล็กๆ เป็นริ้วๆ เกาะตามขอบของท้าย ทอย เป็นทางผ่านของหลอดเลือดที่เลี้ยงสมอง และเลี้ยงอวัยวะต่างๆ บนศีรษะ บริเวณนี้จะเตือนคุณได้มากที่สุด คุณจะปวดคอ ปวดบ่า บางรายร้าวไปที่หลัง รอบสะบัก หายใจแล้วเสียวในช่องอก มากขึ้นเรื่อยขนาดปวดร้าวขึ้นศีรษะ เหมือนเป็นไมเกรน เนื่องจากกล้ามเนื้อหดตัวมากเลือดไปเลี้ยงสมองไม่พอ ตา ปากอาจกระตุกด้วย 

                                          โรคกล้ามเนื้อเสื่อม วิธีรักษาโรคกล้ามเนื้อเกร็งตัว โรคกล้ามเนื้อหดเกร็ง
     โรคกล้ามเนื้อเสื่อม วิธีรักษาโรคกล้ามเนื้อเกร็งตัว โรคกล้ามเนื้อหดเกร็ง  การดูแลให้ถูกทาง คือทำกล้ามเนื้อให้มีความยืดหยุ่นดี กระดูกควรอยู่ในแนวที่ปกติ เส้นเลือด เส้นประสาทระบบขับสารเสีย ระบบน้ำเหลืองไหลเวียนได้ดี ไม่ใช่แค่การไปคลายที่คออย่างเดียว เพราะกล้ามเนื้อเกี่ยวพันกันอยู่ทุกส่วน ควรปรับสมดุลให้โครงสร้างร่างกาย เพราะถ้าปรับสภาวะให้โครงสร้างสมดุลแล้วระบบเลือด น้ำเหลือง เส้นประสาทจะไหลเวียนได้เต็มที่ มีผลให้ร่างกายหลั่งฮอร์โมนชนิดดีที่จะทำงานตรงกันข้ามกับอะดรีนาลิน นั่นคือเอ็นดอร์ฟิน ซึ่งเป็นสารสุขให้กับร่างกาย
      
หาก ต้องการดูแลด้วยตนเองก่อน ควรผ่อนคลายด้วยการนวดเบาๆ อบ/ประคบร้อน ไม่ควรทำแรงบริเวณคอ เพราะมีเส้นเลือดและกล้ามเนื้อที่สำคัญมาก หากต้องการรักษาก็ต้องเป็นผู้เชี่ยวชาญในเรื่องของระบบกระดูกกล้ามเนื้อจะดี กว่า ควรหลีกเลี่ยงการใช้ยาเพราะจะส่งผลเสียมากขึ้น

      Link  https://www.kroobannok.com

+++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++


 

           โรคกล้ามเนื้อหดเกร็ง

โรคกล้ามเนื้อเสื่อม วิธีรักษาโรคกล้ามเนื้อเกร็งตัว โรคกล้ามเนื้อหดเกร็ง

     โดยปกติแล้วกล้ามเนื้อร่างกายคนเราจะมีการ หดตัวและคลายตัวสลับกันเป็นจังหวะทำให้หลอดเลือดที่ทอดผ่านในมัดกล้าม เนื้อ สามารถส่งเลือดให้ไหลไปได้อย่างสะดวก ถ้ากล้ามเนื้อเกิดการหดเกร็งไม่ มีการคลายตัว หลอดเลือดถูกบีบรัดการไหลเวียนของเลือดก็จะติดขัด มีสารของ เสียคั่งค้างอยู่ในกล้ามเนื้อ ทำให้เกิดการอักเสบและมีอาการปวดกล้ามเนื้อ ขึ้น และหากไม่ได้รักษาอย่างถูกต้อง กล้ามเนื้อก็จะเกิดหดเกร็งอยู่ตลอด ไม่ มีการคลายตัวกลายเป็นอาการปวดอย่างเรื้อรังที่สร้างความทรมานให้แก่ผู้ป่วย เป็นอย่างมากในทางการแพทย์เรียกชื่อโรคนี้ว่า “กลุ่มอาการปวดกล้ามเนื้อเรื้อรัง” (chronic myofascial pain syndrome MFPS) ซึ่งเป็นโรคที่พบได้บ่อยมากเลยทีเดียว

     ผู้ป่วยโรคนี้มักจะมีอาการปวดตึงกล้ามเนื้อบริเวณต้นคอ,บ่า และหลัง เนื่องจากกล้ามเนื้อบริเวณนี้มีการหดเกร็งนั่นเอง บางรายอาจมีแค่ อาการปวดตึงๆเมื่อยๆเท่านั้นซึ่ง เมื่อพักผ่อนหรือนวดแล้วก็ทุเลาหายไป ได้ แต่บางรายอาจมีอาการปวดรุนแรงจนไม่สามารถทำงานหรือนอนหลับได้ใน รายที่เป็นเรื้อรังมานานกล้ามเนื้อจะหดเกร็งจับตัวเป็นก้อนกลม หรือเป็นเส้น แข็งๆสามารถคลำได้อย่างชัดเจน เมื่อกดลงไปจะรู้สึกเจ็บมากก้อนหรือเส้น นี้ ส่วนหนึ่งเป็นพังผืดที่เกิดขึ้นจากการอักเสบเรื้อรังของกล้ามเนื้อ บริเวณนั้น เมื่อใช้นิ้วจับโยกดู อาจพบว่าก้อนหรือเส้นพังผืดนั้นจะเคลื่อนไหวไปมาพร้อมกับรู้สึกมีเสียงดัง กึกๆได้

     อาการปวดอาจลามไปศีรษะ แขน บั้น เอว ทำให้ผู้ป่วยมีอาการปวดศีรษะข้างเดียวคล้ายโรคไมเกรน หรือมีอาการชาแขน ลงไปจนถึงมือ และปวดบั้นเอว นอกจากนี้อาจมีอาการระบบอื่นๆร่วมด้วย เช่น ใจสั่น นอนไม่หลับ หงุดหงิด เครียด วิตกกังวลง่าย เวียนศีรษะ เป็นต้น

     โรคนี้มักจะพบในผู้ที่นั่งทำ งานอยู่กับโต๊ะ ผู้ที่ทำงานใช้คอมพิวเตอร์หรือนั่งประชุมต่อเนื่องเป็นเวลา นานๆ โดยเฉพาะผู้ที่มีความเครียดร่วมด้วยจะยิ่งเกิดได้ง่ายขึ้น นอกจากนี้ ยังพบได้บ่อยในผู้ที่ต้องทำงานอยู่ท่าเดียวนานๆ เช่น แม่ครัว พนักงานขับรถ เป็นต้น

     ในทางการแพทย์แผนปัจจุบัน แพทย์มักจะให้การรักษาด้วยยาแก้ปวด ยาคลายกล้ามเนื้อ ยาแก้อักเสบ ยาคลาย เครียด กายภาพบำบัด รวมทั้งการแนะนำให้ผู้ป่วยออกกำลังกาย หลีกเลี่ยงความ เครียด เป็นต้น ในรายที่เป็นมากแพทย์อาจใช้ยาสเตอรอยด์หรือยาชาฉีดเข้าไปยัง กล้ามเนื้อแต่มักจะไม่ค่อยได้ผลมากนัก ผู้ป่วยจำนวนมากต้องหันไปรักษาด้วย การนวดแบบต่างๆ แต่มักจะช่วยบรรเทาอาการได้ชั่วคราว บางรายกลับมีอาการทรุด หนักมากขึ้น เนื่องจากถูกนวดอย่างรุนแรงจนกระทั่งเนื้อเยื่อที่อยู่ชั้นบนระบมอักเสบไป หมด

     โรคกลุ่มอาการปวดกล้ามเนื้อเรื้อรังนี้ สามารถรักษาได้ด้วยการฝังเข็ม ซึ่งได้ผลการรักษาที่ดีมากถึงเกือบ 100% ทั้งนี้เป็นเพราะว่า การฝังเข็มนั้นมีฤทธิ์ที่สำคัญมากอย่างหนึ่ง คือ สามารถคลายกล้ามเนื้อที่หดเกร็งได้เป็นอย่างดี  ทันที ที่แพทย์ปักเข็มเล็กๆผ่านลงไปในกล้ามเนื้อ มันจะทำให้เส้นใยกล้ามเนื้อที่หด เกร็งนั้นคลายตัวออก  กระตุ้นให้เลือดที่ติดขัดไหลเวียนสะดวกขึ้น ทำให้ร่างกายสามารถกำจัดสารของเสียที่คั่งค้างออกไป จึงทำให้อาการปวดกล้าม เนื้อหายไปได้ในที่สุด

     การฝังเข็มยังสามารถรักษา อาการอักเสบที่เกิดขึ้น ทำให้พังผืดที่เกิดขึ้นถูกสลายออกไปได้ เมื่อรักษา ไประยะหนึ่งพังผืดที่มีลักษณะเป็นก้อนหรือเส้นแข็ง ซึ่งเคยคลำและกดเจ็บนั้น ก็จะหายไปพร้อมกับอาการเจ็บปวดที่ผู้ป่วยมีอยู่ นี่เป็นเหตุผลที่ว่า การฝัง เข็มจึงมิใช่ให้ผลรักษาเป็นเพียงชั่วคราวเท่านั้น หากสามารถรักษาโรคนี้ให้ หายได้

     ในการรักษานั้นแพทย์จะใช้ เข็มขนาดเล็กๆ ปักตามจุดต่างๆบนร่างกาย โดยเฉพาะบริเวณที่มีกล้ามเนื้อการหด เกร็งมากๆ จากนั้นกระตุ้นด้วยมือและเครื่องกระตุ้นไฟฟ้าเป็นเวลานานประมาณ 30 นาที โดยทั่วไปแล้วควรกระตุ้นรักษาประมาณสัปดาห์ละ 1-2 ครั้ง ติดต่อกัน ประมาณ 5-10 ครั้งก็มักจะคลายกล้ามเนื้อออกได้ทั้งหมด ในรายที่เป็นเรื้อรัง มานานๆหรือไม่สามารถหยุดพักการทำงานได้ อาจต้องใช้เวลาในการรักษานานขึ้นบ้าง

ข้อเด่นของการฝังเข็มในรักษาโรคนี้

** ได้ผลการรักษาอย่างแน่นอน สามารถรักษาให้หายขาดได้กล้ามเนื้อที่คลายตัวออกไปแล้วมักจะไม่กลับมาหด เกร็งอีก นอกจากนี้การฝังเข็มยังสามารถคลายกล้ามเนื้อได้แทบทุกส่วน
     ภายในร่างกาย โดยเฉพาะกล้ามเนื้อมัดใหญ่ๆหรือกล้ามเนื้อที่อยู่ลึกๆ ซึ่งยากที่จะใช้การนวดหรือใช้ยารักษา

** นอกจากนี้แล้วการฝังเข็มยังสามารถรักษาอาการผิดปกติอื่นๆที่เกิดร่วมได้ อีกด้วย อาทิเช่น อาการปวดศีรษะ อาการชาจากเส้นประสาทถูกกดรัด อาการนอนไม่หลับ อาการเครียด  
     อารมณ์หงุดหงิด เวียนศีรษะ เป็นต้น

** การฝังเข็มสามารถรักษาผู้ป่วยโรคกลุ่มอาการปวดกล้ามเนื้อได้ ตั้งแต่ในรายที่เพิ่งเป็นมาไม่นานไปจนถึงผู้ป่วยที่เป็นมานาน โดยเฉพาะผู้ป่วยที่เป็นเรื้อรังที่ผ่านการรักษาต่างๆแล้ว
     ยังไม่ได้ผล รวมทั้งผู้ที่มีอาการแทรกซ้อนจากการใช้ยาแก้อักเสบมาเป็นเวลา นาน เช่น กระเพาะอาหารอักเสบ มีแผลในกระเพาอาหารที่ไม่อาจจะใช้ยารักษาได้อีกต่อไป

     อย่างไรก็ตามผู้ป่วยโรคนี้จะต้องหมั่นออกกำลังกายในลักษณะ "ยืดกล้าม เนื้อ" เช่น รำกระบอง, โยคะ, รำชี่กง ร่วมไปด้วยจะช่วยทำให้หายได้เร็วขึ้น และเป็นการป้องกันมิให้โรคกำเริบกลับ มาเป็นอีก การฝังเข็มจึงเป็นทางเลือกสำหรับผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกล้าม เนื้อหดเกร็งได้เป็นอย่างดี 

            Link      https://www.yanhee.co.th

++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++

อัพเดทล่าสุด