รูปกระดูกสันหลัง แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านกระดูกสันหลัง วิธีกำจัดหินปูนที่เกาะกระดูกสันหลังข้อที่4และ5


1,971 ผู้ชม


รูปกระดูกสันหลัง แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านกระดูกสันหลัง วิธีกำจัดหินปูนที่เกาะกระดูกสันหลังข้อที่4และ5

              รูปกระดูกสันหลัง

รูปกระดูกสันหลัง แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านกระดูกสันหลัง วิธีกำจัดหินปูนที่เกาะกระดูกสันหลังข้อที่4และ5
        www.thaiclinic.com

รูปกระดูกสันหลัง แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านกระดูกสันหลัง วิธีกำจัดหินปูนที่เกาะกระดูกสันหลังข้อที่4และ5
                  https://www.vcharkarn.com

รูปกระดูกสันหลัง แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านกระดูกสันหลัง วิธีกำจัดหินปูนที่เกาะกระดูกสันหลังข้อที่4และ5

             https://www.bloggang.com

รูปกระดูกสันหลัง แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านกระดูกสันหลัง วิธีกำจัดหินปูนที่เกาะกระดูกสันหลังข้อที่4และ5

             https://www.pendulumthai.com

++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++


                  แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านกระดูกสันหลัง

สถาบันกระดูกสันหลังบำรุงราษฎร์

เป็นศูนย์บริการทางการแพทย์ที่พรั่งพร้อมด้วย เครื่องมืออันทันสมัยสำหรับการรักษาทั่วไปและการผ่าตัด เพื่อตรวจหาและรักษาอาการปวดหลังและคอให้กับผู้ป่วย ที่สำคัญคือ ผู้ป่วยแต่ละรายจะได้รับการตรวจวินิจฉัยอย่างละเอียดเพื่อหาวิธีการรักษาที่ ดีที่สุดจากต้นเหตุของอาการ ซึ่งวิธีการรักษาที่ดีที่สุดนั้นไม่จำเป็นต้องใช้การผ่าตัด และอาจใช้วิธีการฟื้นฟูสมรรถภาพทางร่างกาย
สถาบันกระดูกสันหลังบำรุงราษฎร์ มีความเชี่ยวชาญในด้านต่างๆ อาทิ

    Download

    รูปกระดูกสันหลัง แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านกระดูกสันหลัง วิธีกำจัดหินปูนที่เกาะกระดูกสันหลังข้อที่4และ5
    อาการปวดหลัง
    รูปกระดูกสันหลัง แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านกระดูกสันหลัง วิธีกำจัดหินปูนที่เกาะกระดูกสันหลังข้อที่4และ5
    อาการปวดคอ

  • การบริการตรวจผู้ป่วยที่ละเอียดและครอบคลุม
  • เป็นศูนย์ข้อมูลการศึกษาและฝึกอบรมให้กับทีมแพทย์
  • การวิจัยต่างๆ อย่างต่อเนื่อง

ศูนย์รวมทีมผู้เชี่ยวชาญ

ผู้เชี่ยวชาญของสถาบันกระดูกสันหลังบำรุงราษฎร์ ได้แก่
  • ศัลยแพทย์ออร์โธปิดิกส์
  • ศัลยแพทย์ระบบประสาท
  • แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู
  • แพทย์ผู้เชี่ยวชาญระบบประสาท
  • แพทย์ผู้เชี่ยวชาญในการรักษาอาการเจ็บปวด
  • ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคนิครังสีสำหรับกระดูกสันหลัง
  • นักกายภาพบำบัด
ทีมผู้เชี่ยวชาญเฉพาะของโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ ทำงานร่วมกันเพื่อบริการรักษาผู้ป่วยอย่างดีที่สุด สำหรับผู้ป่วยที่มีอาการซับซ้อน แพทย์จะปรึกษาร่วมกันเป็นทีมทั้งภายในและต่างประเทศเพื่อให้ได้วิธีการรักษา ที่ดีที่สุดก่อนดำเนินการรักษาจริง

วิธีการรักษา

โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ฯ ให้บริการด้วยวิธีการรักษาทั่วไปและการผ่าตัดที่ซับซ้อน
  • บริการตรวจวินิจฉัย ได้แก่
    • การเอ็กซเรย์
    • การทำซีทีสแกน
    • การทำเอ็มอาร์ไอสแกน
    • เครื่องตรวจคลื่นไฟฟ้าสรีระแบบอีเอ็มจี (Electromyography) และแบบเอ็นซีวี (Nerve Conduction Velocity)
  • การรักษาผู้ป่วยนอกและการรักษาทั่วไปที่ไม่ใช่การผ่าตัด
    • การฉีดยาบล็อกเส้นประสาท (Selective nerve root block)
    • การฉีดยาสเตียรอยด์เข้ากระดูกสันหลังด้านหน้า (Transforaminal anterior epidural steroid injection)
    • การฉีดยาสเตียรอยด์เข้ากระดูกสันหลังด้านหลัง
    • การวินิจฉัยกระดูกสันหลังด้วยการฉีดสี (Provocative discography)
    • การลงเข็มสลายจุดปวด (Dry needling) หรือคลายจุดเจ็บปวดจากการหดเกร็งของกล้ามเนื้อ (Trigger point release)
การฉีดยาเข้าที่โพรงกระดูกสันหลัง:
 
  • กายภาพบำบัดและการฟื้นฟูสมรรถภาพ ทางศูนย์ฯ ให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพทั้งก่อนและหลังการผ่าตัด อาทิ
    • การรักษาแบบดั้งเดิมอย่างการทำกายภาพ บำบัด โดยใช้เครื่องมือกายภาพบำบัดต่างๆ เช่น เครื่องนวดอัลตราโซนิก เครื่องนวดรังสีความถี่สั้น การประคบร้อน/เย็น เครื่องกระตุ้นปลายประสาทด้วยไฟฟ้า (TENS) เป็นต้น
    • การรักษาด้วยเลเซอร์พลังงานต่ำ
    • การใช้อุปกรณ์สำหรับกระดูกสันหลัง (อุปกรณ์ช่วยช่วยพยุงต้นคอต่างๆ)
    • โปรแกรมการออกกำลังกาย การเคลื่อนไหวและกิจกรรมที่เหมาะสม
  • การผ่าตัดรักษาต่างๆ ได้แก่
    • การผ่าตัดส่องกล้องเพื่อรักษาอาการปวดหลังจากภาวะหมอนรองกระดูกกดทับเส้นประสาทส่วนเอว (Endoscopic Lumbar Discectomy)
    • การผ่าตัดส่องกล้องรักษาภาวะกระดูกกดทับ (Endoscopic decompression)
    • การผ่าตัดกระดูกสันหลังด้วยกล้องผ่าตัดขนาดเล็ก (Microscopic discectomy)
    • การผ่าตัดรักษาภาวะกระดูกกดทับด้วยกล้องผ่าตัดขนาดเล็ก (Microscopic decompression)
    • การผ่าตัดยกกระดูกสันหลังแบบลามิเนกโตมี (Laminectomy)
    • การผ่าตัดยกกระดูกสันหลังแบบลามิเนกโตมี (Laminectomy) ควบคู่กับการยึดตรึงกระดูก
    • การผ่าตัดเชื่อมข้อกระดูก (Percutaneous fusion)
    • การผ่าตัดกระดูกสันหลังต้นคอด้านหน้า ด้วยกล้องผ่าตัดขนาดเล็ก ควบคู่กับการยึดตรึงกระดูก (Anterior cervical microdiscectomy with fusion)
    • การเปลี่ยนใส่ข้อกระดูกสันหลังเทียม (Artificial Disc Replacement)
การผ่าตัดโรคกระดูกสันหลัง
ผ่านกล้องเอ็นโดสโคป
:
 
การผ่าตัดกระดูกสันหลัง
แบบลามิเนกโตมี
:

 

อาการและโรคที่ให้การรักษา

การรักษาอาการปวดหลังและคอทั่วไป
  • อาการปวดหลัง (เช่น จากการทำงาน การเล่นกีฬา หรืออาการปวดตามวัย)
  • อาการปวดคอ (เช่น จากการออกกำลัง การนั่งทำงานนานๆ และจากการเล่นกีฬา)
  • อาการปวดสะโพกร้าวลงขา (Sciatica)

การรักษาสาเหตุทั่วไปของปัญหาเกี่ยวกับกระดูกสันหลัง

  • หมอนรองกระดูกกดทับเส้นประสาท
  • โรคกระดูกสันหลังเสื่อม (Spondylosis)
  • โรคกระดูกสันหลังเคลื่อน (Spondylolisthesis)
  • การกดทับเส้นประสาทไขสันหลัง (Sciatica)
  • โรคกระดูกสันหลังคดงอผิดปกติ (scoliosis)
  • โรคกระดูกสันหลังรูปร่างผิดปกติ
  • เนื้องอกที่กระดูกสันหลัง
  • การบาดเจ็บที่กระดูกสันหลัง

เวลาให้บริการ

ทุกวัน ตั้งแต่ 8.00 น. ถึง 20.00 น.

ที่ตั้ง

โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ อินเตอร์เนชั่นแนล ชั้น 12 เคาน์เตอร์ บี

ติดต่อเรา

โทรศัพท์ 0-2667-1515

สถาบันกระดูกสันหลังบำรุงราษฎร์

เป็นศูนย์บริการทางการแพทย์ที่พรั่งพร้อมด้วย เครื่องมืออันทันสมัยสำหรับการรักษาทั่วไปและการผ่าตัด เพื่อตรวจหาและรักษาอาการปวดหลังและคอให้กับผู้ป่วย ที่สำคัญคือ ผู้ป่วยแต่ละรายจะได้รับการตรวจวินิจฉัยอย่างละเอียดเพื่อหาวิธีการรักษาที่ ดีที่สุดจากต้นเหตุของอาการ ซึ่งวิธีการรักษาที่ดีที่สุดนั้นไม่จำเป็นต้องใช้การผ่าตัด และอาจใช้วิธีการฟื้นฟูสมรรถภาพทางร่างกาย
สถาบันกระดูกสันหลังบำรุงราษฎร์ มีความเชี่ยวชาญในด้านต่างๆ อาทิ

    Download

    รูปกระดูกสันหลัง แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านกระดูกสันหลัง วิธีกำจัดหินปูนที่เกาะกระดูกสันหลังข้อที่4และ5
    อาการปวดหลัง
    รูปกระดูกสันหลัง แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านกระดูกสันหลัง วิธีกำจัดหินปูนที่เกาะกระดูกสันหลังข้อที่4และ5
    อาการปวดคอ

  • การบริการตรวจผู้ป่วยที่ละเอียดและครอบคลุม
  • เป็นศูนย์ข้อมูลการศึกษาและฝึกอบรมให้กับทีมแพทย์
  • การวิจัยต่างๆ อย่างต่อเนื่อง

ศูนย์รวมทีมผู้เชี่ยวชาญ

ผู้เชี่ยวชาญของสถาบันกระดูกสันหลังบำรุงราษฎร์ ได้แก่
  • ศัลยแพทย์ออร์โธปิดิกส์
  • ศัลยแพทย์ระบบประสาท
  • แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู
  • แพทย์ผู้เชี่ยวชาญระบบประสาท
  • แพทย์ผู้เชี่ยวชาญในการรักษาอาการเจ็บปวด
  • ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคนิครังสีสำหรับกระดูกสันหลัง
  • นักกายภาพบำบัด
ทีมผู้เชี่ยวชาญเฉพาะของโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ ทำงานร่วมกันเพื่อบริการรักษาผู้ป่วยอย่างดีที่สุด สำหรับผู้ป่วยที่มีอาการซับซ้อน แพทย์จะปรึกษาร่วมกันเป็นทีมทั้งภายในและต่างประเทศเพื่อให้ได้วิธีการรักษา ที่ดีที่สุดก่อนดำเนินการรักษาจริง

วิธีการรักษา

โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ฯ ให้บริการด้วยวิธีการรักษาทั่วไปและการผ่าตัดที่ซับซ้อน
  • บริการตรวจวินิจฉัย ได้แก่
    • การเอ็กซเรย์
    • การทำซีทีสแกน
    • การทำเอ็มอาร์ไอสแกน
    • เครื่องตรวจคลื่นไฟฟ้าสรีระแบบอีเอ็มจี (Electromyography) และแบบเอ็นซีวี (Nerve Conduction Velocity)
  • การรักษาผู้ป่วยนอกและการรักษาทั่วไปที่ไม่ใช่การผ่าตัด
    • การฉีดยาบล็อกเส้นประสาท (Selective nerve root block)
    • การฉีดยาสเตียรอยด์เข้ากระดูกสันหลังด้านหน้า (Transforaminal anterior epidural steroid injection)
    • การฉีดยาสเตียรอยด์เข้ากระดูกสันหลังด้านหลัง
    • การวินิจฉัยกระดูกสันหลังด้วยการฉีดสี (Provocative discography)
    • การลงเข็มสลายจุดปวด (Dry needling) หรือคลายจุดเจ็บปวดจากการหดเกร็งของกล้ามเนื้อ (Trigger point release)
การฉีดยาเข้าที่โพรงกระดูกสันหลัง:
 
  • กายภาพบำบัดและการฟื้นฟูสมรรถภาพ ทางศูนย์ฯ ให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพทั้งก่อนและหลังการผ่าตัด อาทิ
    • การรักษาแบบดั้งเดิมอย่างการทำกายภาพ บำบัด โดยใช้เครื่องมือกายภาพบำบัดต่างๆ เช่น เครื่องนวดอัลตราโซนิก เครื่องนวดรังสีความถี่สั้น การประคบร้อน/เย็น เครื่องกระตุ้นปลายประสาทด้วยไฟฟ้า (TENS) เป็นต้น
    • การรักษาด้วยเลเซอร์พลังงานต่ำ
    • การใช้อุปกรณ์สำหรับกระดูกสันหลัง (อุปกรณ์ช่วยช่วยพยุงต้นคอต่างๆ)
    • โปรแกรมการออกกำลังกาย การเคลื่อนไหวและกิจกรรมที่เหมาะสม
  • การผ่าตัดรักษาต่างๆ ได้แก่
    • การผ่าตัดส่องกล้องเพื่อรักษาอาการปวดหลังจากภาวะหมอนรองกระดูกกดทับเส้นประสาทส่วนเอว (Endoscopic Lumbar Discectomy)
    • การผ่าตัดส่องกล้องรักษาภาวะกระดูกกดทับ (Endoscopic decompression)
    • การผ่าตัดกระดูกสันหลังด้วยกล้องผ่าตัดขนาดเล็ก (Microscopic discectomy)
    • การผ่าตัดรักษาภาวะกระดูกกดทับด้วยกล้องผ่าตัดขนาดเล็ก (Microscopic decompression)
    • การผ่าตัดยกกระดูกสันหลังแบบลามิเนกโตมี (Laminectomy)
    • การผ่าตัดยกกระดูกสันหลังแบบลามิเนกโตมี (Laminectomy) ควบคู่กับการยึดตรึงกระดูก
    • การผ่าตัดเชื่อมข้อกระดูก (Percutaneous fusion)
    • การผ่าตัดกระดูกสันหลังต้นคอด้านหน้า ด้วยกล้องผ่าตัดขนาดเล็ก ควบคู่กับการยึดตรึงกระดูก (Anterior cervical microdiscectomy with fusion)
    • การเปลี่ยนใส่ข้อกระดูกสันหลังเทียม (Artificial Disc Replacement)
การผ่าตัดโรคกระดูกสันหลัง
ผ่านกล้องเอ็นโดสโคป
:
 
การผ่าตัดกระดูกสันหลัง
แบบลามิเนกโตมี
:

 

อาการและโรคที่ให้การรักษา

การรักษาอาการปวดหลังและคอทั่วไป
  • อาการปวดหลัง (เช่น จากการทำงาน การเล่นกีฬา หรืออาการปวดตามวัย)
  • อาการปวดคอ (เช่น จากการออกกำลัง การนั่งทำงานนานๆ และจากการเล่นกีฬา)
  • อาการปวดสะโพกร้าวลงขา (Sciatica)

การรักษาสาเหตุทั่วไปของปัญหาเกี่ยวกับกระดูกสันหลัง

  • หมอนรองกระดูกกดทับเส้นประสาท
  • โรคกระดูกสันหลังเสื่อม (Spondylosis)
  • โรคกระดูกสันหลังเคลื่อน (Spondylolisthesis)
  • การกดทับเส้นประสาทไขสันหลัง (Sciatica)
  • โรคกระดูกสันหลังคดงอผิดปกติ (scoliosis)
  • โรคกระดูกสันหลังรูปร่างผิดปกติ
  • เนื้องอกที่กระดูกสันหลัง
  • การบาดเจ็บที่กระดูกสันหลัง

เวลาให้บริการ

ทุกวัน ตั้งแต่ 8.00 น. ถึง 20.00 น.

ที่ตั้ง

โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ อินเตอร์เนชั่นแนล ชั้น 12 เคาน์เตอร์ บี

ติดต่อเรา

โทรศัพท์ 0-2667-1515

              Link     https://www.bumrungrad.com

+++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++


 

              วิธีกำจัดหินปูนที่เกาะกระดูกสันหลังข้อที่4และ5

โรคข้อและกระดูกสันหลังอักเสบ

โรคข้อและกระดูกสันหลังอักเสบคืออะไร
โรคข้อและกระดูกสันหลังอักเสบหมายถึงกลุ่มโรคที่มีการอักเสบของข้อกระดูกสันหลังและข้อรยางค์ (แขนและขา) ร่วมกับการอักเสบของปลายเอ็นส่วนที่ยึดติดกับกระดูก ซึ่งก่อให้เกิดอาการปวดตึงหลัง ปวดข้อของแขนหรือขา และเจ็บที่เอ็น นอกจากนี้ยังอาจมีอาการแสดงในระบบอื่นๆ เช่น ผื่นผิวหนัง ตาแดง ตามัว หรือท้องเสีย เป็นต้น
โรคที่อยู่ในกลุ่มนี้แบ่งออกเป็น 5 โรคได้แก่
1. โรคข้อกระดูกสันหลังอักเสบชนิดติดยึด (ankylosing spondylitis)
2. โรคข้ออักเสบรีแอ๊คตีฟ (reactive arthritis)
3. โรคข้ออักเสบสะเก็ดเงิน (psoriatic arthritis)
4. โรคข้ออักเสบร่วมกับโรคลำไส้อักเสบ (enteropathic spondyloarthropathy)
5. โรคข้อและกระดูกสันหลังอักเสบที่ยังไม่ทราบชนิด (undifferentiated spondyloarthropathy)

สาเหตุโรคข้อและกระดูกสันหลังอักเสบคืออะไร
สาเหตุที่แท้จริงยังไม่ทราบ อย่างไรก็ตามพบว่าสมาชิกของครอบครัวที่มีผู้ป่วยเป็นโรคข้อและกระดูกสันหลังอักเสบจะมีโอกาสเป็นโรคนี้มากขึ้น โดยมีความสัมพันธ์กับยีนชนิดหนึ่งที่เรียกว่า HLA-B27 ดังนั้นจึงเชื่อว่าปัจจัยทางพันธุกรรมหรือยีนที่ผิดปกติน่าจะเป็นสาเหตุที่สำคัญของโรคนี้
นอกจากนี้การติดเชื้อโรคบางชนิดเช่น เชื้อคลามัยเดียที่ทำให้เกิดการอักเสบของท่อปัสสาวะ หรือเชื้อโรคที่ทำให้เกิดท้องร่วงเช่น เชื้อซาโมเนลลา ก็สามารถกระตุ้นให้โรคข้ออักเสบรีแอ๊คตีฟกำเริบขึ้นได้ ดังนั้นปัจจัยทางสิ่งแวดล้อมโดยเฉพาะการติดเชื้อจึงเป็นสาเหตุที่สำคัญอีกประการหนึ่งที่มากระตุ้นให้เกิดโรคนี้ขึ้น

ใครมีโอกาสเป็นโรคข้อและกระดูกสันหลังอักเสบบ้าง
โรคข้อและกระดูกสันหลังอักเสบพบบ่อยในช่วงวัยรุ่นถึงวัยกลางคน โดยพบในผู้ชายบ่อยกว่าผู้หญิง 2-3 เท่า สมาชิกในครอบครัวของผู้ป่วยเป็นโรคนี้จะมีโอกาสเป็นโรคมากขึ้นกว่าประชากรทั่วไป
โรคนี้พบบ่อยในประชากรของประเทศแถบขั้วโลกเหนือเช่น ชาวเอสกิโม และชาวอลาสกา รวมถึงชนพื้นเมืองของทวีปอเมริกาเหนือทางตะวันตก อุบัติการณ์ในประเทศไทยยังไม่ทราบแน่ชัดแต่คาดว่าน่าจะใกล้เคียงกับประเทศทางตะวันตก

แพทย์จะวินิจฉัยโรคข้อและกระดูกสันหลังอักเสบได้อย่างไร
การวินิจฉัยโรคจะอาศัยประวัติครอบครัว ร่วมกับอาการข้อและกระดูกสันหลังอักเสบของท่าน การถ่ายภาพเอกซเรย์ของกระดูกสันหลังและกระดูกเชิงกรานจะช่วยยืนยันการวินิจฉัยโรคได้ ส่วนการตรวจหายีน HLA-B27 ก็อาจช่วยในการประเมินปัจจัยเสี่ยงของโรคแต่ก็ไม่จำเป็นต้องตรวจในผู้ป่วยทุกคน
ลักษณะอาการเด่นและมีความจำเพาะต่อโรคนี้ คืออาการปวดหรือตึงหลัง ซึ่งมักจะปวดที่บริเวณกระดูกสันหลังส่วนล่างและกระเบนเหน็บ โดยจะเป็นมากในช่วงตื่นนอนตอนเช้า อาการจะค่อยๆ ดีขึ้นในช่วงสายๆ หรือบ่ายๆ ผู้ป่วยที่เป็นโรคมานานอาจมีหินปูนเชื่อมกระดูกสันหลังให้ติดกันและทำให้ไม่สามารถก้มหรือหงายหลังได้อย่างเต็มที่
ผู้ป่วยอีกส่วนหนึ่งจะมีอาการปวดข้อและข้ออักเสบร่วมด้วย โดยพบบ่อยที่ข้อเข่า ข้อเท้า และข้อสะโพก บางรายอาจมีข้ออักเสบที่ข้อมือ ข้อศอก หรือข้อนิ้วมือ นอกจากนี้ยังอาจพบการอักเสบของปลายเอ็นตรงตำแหน่งที่ยึดเกาะกับกระดูก เช่น เอ็นร้อยหวาย และเอ็นฝ่าเท้าหรือส้นเท้า เป็นต้น
ผู้ป่วยบางรายอาจมีผื่นเป็นสะเก็ดที่ผิวหนัง เล็บผิดปกติ ท้องเสียเรื้อรัง ม่านตาอักเสบ เยื่อบุตาอักเสบ หรือลิ้นหัวใจรั่วร่วมด้วย อาการแสดงนอกข้อเหล่านี้มีประโยชน์ช่วยทำให้ทราบว่าผู้ป่วยเป็นโรคใดในกลุ่มโรคข้อและกระดูกสันหลังอักเสบนี้

โรคข้อและกระดูกสันหลังอักเสบมีวิธีการรักษาอย่างไร
การรักษาโรคในกลุ่มนี้จะมีความคล้ายคลึงกับโรคอื่นๆ ที่มีข้ออักเสบ โดยมีหลักการเบื้องต้นคือการออกกำลังกาย การทำกายภาพบำบัด และการใช้ข้ออย่างถูกวิธี ซึ่งจะช่วยให้ท่านสามารถทำกิจวัตรประจำวันได้เหมือนคนปกติ ผู้ป่วยที่มีอาการปวดข้อหรือมีอาการติดยึดของกระดูกสันหลังอย่างมากก็จำเป็นจะต้องใช้ยารักษาร่วมด้วย ส่วนการผ่าตัดมีความจำเป็นในผู้ป่วยบางรายที่มีความพิการของข้อหรือกระดูกสันหลังอย่างมากแล้ว
ยาที่ใช้รักษาโรคนี้มี 2 กลุ่มคือ
1. กลุ่มยาที่ช่วยบรรเทาอาการ ได้แก่ ยาที่มีฤทธิ์บรรเทาอาการอักเสบและเจ็บปวดที่ข้อ ได้แก่ ยาแก้ปวดและยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สารเสตียรอยด์ (non-steroidal anti-inflammatory drugs, NSAIDs)
2. กลุ่มยาที่สามารถปรับเปลี่ยนการดำเนินโรคเพื่อทำให้โรคสงบ ในผู้ป่วยที่มีอาการเรื้อรังหรือรุนแรงแพทย์จะพิจารณาใช้ยาในกลุ่มนี้ซึ่งได้แก่ ยาเม็ทโธเทรกเซท (methotrexate) และยาซัลฟาซาลาซีน (sulfasalazine) ในระยะหลังได้มีการนำยาใหม่ๆ มาใช้รักษาโรคนี้ โดยเฉพาะกลุ่มยาชีวภาพซึ่งออกฤทธิ์ต้านการทำงานของสารทีเอ็นเอฟ (anti-TNF agents) อย่างไรก็ตามยาเหล่านี้มีราคาค่อนข้างสูงและยังทำให้เกิดผลข้างเคียงที่รุนแรงหลายอย่าง การใช้ยาดังกล่าวจึงควรอยู่ในดุลพินิจของแพทย์ผู้รักษาและจะต้องมีการติดตามการรักษาอย่างใกล้ชิด

ท่านจะดูแลตนเองอย่างไรเมื่อเป็นโรคข้อและกระดูกสันหลังอักเสบ
ถึงแม้ว่าผู้ป่วยโรคนี้จะมีความเจ็บปวดจากการอักเสบของข้อ แต่ผู้ป่วยส่วนใหญ่ก็สามารถดำรงชีวิตได้เช่นคนทั่วไป การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอเป็นสิ่งจำเป็น เพราะจะช่วยเพิ่มสมรรถภาพการทำงานของร่างกายและลดความพิการของข้อและกระดูกสันหลังลงได้

ข้อควรจำ 

    โรคข้อและกระดูกสันหลังอักเสบเป็นโรคชนิดหนึ่งที่มีการอักเสบของข้อกระดูกสันหลังและข้อรยางค์ของแขนและขา ร่วมกับการอักเสบของปลายเอ็นส่วนที่ยึดติดกับกระดูก โดยที่ผู้ป่วยส่วนหนึ่งจะมีผื่นผิวหนัง เล็บผิดปกติ ท้องเสียเรื้อรัง ม่านตาอักเสบ เยื่อบุตาอักเสบ หรือลิ้นหัวใจรั่วร่วมด้วย
    โรคนี้พบบ่อยในช่วงวัยรุ่นถึงวัยกลางคน โดยพบในผู้ชายบ่อยกว่าผู้หญิง 2-3 เท่า สมาชิกในครอบครัวของมีโอกาสเป็นโรคนี้มากขึ้นกว่าประชากรทั่วไป
    การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ การทำกายภาพบำบัด และการใช้ข้ออย่างถูกวิธี ร่วมกับการใช้ยารักษาโรคจะช่วยให้ท่านสามารถทำกิจวัตรประจำวันและมีคุณภาพชีวิตดีเหมือนคนปกติ

        Link       https://www.thairheumatology.org

+++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++

            

อัพเดทล่าสุด