โรคติดต่อทางพันธุกรรม ได้แก่ สาเหตุการเกิดโรคติดต่อทางพันธุกรรม แผ่นพับเรื่องโรคติดต่อทางพันธุกรรม


1,238 ผู้ชม


โรคติดต่อทางพันธุกรรม ได้แก่ สาเหตุการเกิดโรคติดต่อทางพันธุกรรม แผ่นพับเรื่องโรคติดต่อทางพันธุกรรม

 โรคติดต่อ และ โรคไม่ติดต่อ contagion - non contagion

โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ โรคติดต่อหมายถึง โรคที่ติดต่อทางพันธุกรรม
ประเภทของโรคที่เกิดจากอาหารเป็นสื่อ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
     1. โรคที่ติดต่อได้ หมายถึง โรคซึ่งเกิดกับผู้หนึ่งผู้ใดแล้ว สามารถแพร่กระจายไปสู่ผู้อื่นได้ โรคเหล่านี้มีสาเหตุมาจาก
          1.1 แบคทีเรีย เช่น อหิวาตกโรค ไทฟอยด์ วัณโรค 
          1.2 พยาธิต่างๆ เช่น พยาธิตัวตืด พยาธิใบไม้ตับ พยาธิตัวจี๊ด
          1.3 ไวรัส เช่น โปลิโอ ตับอักเสบ 
     2. โรคที่ไม่ติดต่อ หมายถึง โรคที่เกิดกับผู้หนึ่งผู้ใดแล้ว ทำให้ผู้นั้นเจ็บป่วย หรือตาย แต่ไม่แพร่ขยายไปสู่ผู้อื่น โรคนี้มีสาเหตุมาจาก
          2.1 พิษของแบคทีเรีย เช่น พิษจากแผล ฝี หนอง
          2.2 พิษของเชื้อรา เช่น อะฟลาทอกซิน
          2.3 พิษจากสารเคมี เช่น สารพิษกำจัดศัตรูพืช
          2.4 พิษธรรมชาติในพืชและสัตว์ เช่น คางคก เห็ดพิษ
         โรคไม่ติดต่อ หมายถึง โรคที่เกิดจากความผิดปกติหรือความเสื่อมโทรมของร่างกายและจิตใจ ไม่สามารถที่จะติดต่อไปหาบุคคลอื่นได้ เช่น โรคหัวใจ โรคเบาหวาน โรคมะเร็ง โรคนิ่ว โรคจิต และโรคประสาท โรคความดันเลือดต่างๆเป็นต้น 
        ขณะนี้ความสำคัญของโรคไม่ติดต่อกำลังเพิ่มมากขึ้น ไม่เฉพาะประเทศไทย แต่รวมถึงประเทศที่กำลังพัฒนาจำนวนมาก สำหรับประเทศไทยโรคติดต่อลดลงเหลือเพียง 3 โรคใหญ่ คือ โรคเอดส์ วัณโรค และไข้เลือดออก แต่โรคไม่ติดต่อกำลังมีบทบาทในการเป็นภัยต่อสุขภาพของประเทศ โดยเฉพาะโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ทำให้เกิดการเสียชีวิตจากโรคหัวใจ โรคมะเร็ง และที่เป็นปัญหาเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ คือ โรคที่เกิดจากการบาดเจ็บหรืออุบัติเหตุ 
        สำหรับกลุ่มเสี่ยงของโรคไม่ติดต่อ ที่ผ่านมาคือวัยทำงาน เพราะมีความเครียด ขาดการออกกำลังกาย เป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูง แต่ปัจจุบันเริ่มตั้งแต่แม่และเด็ก แม่ต้องมีความรู้ในการเลี้ยงลูก เพราะเด็กไทยเป็นเด็กที่อ้วนมากขึ้น อย่างน่าเป็นห่วง และเด็กที่อ้วนเมื่อเติบโตก็จะเป็นคนอ้วน มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจ เบาหวาน ซึ่งขณะนี้เด็กไทยที่เป็นโรคเบาหวานก็มีอายุน้อยลงเรื่อยๆ ดังนั้น ตอนนี้ทุกกลุ่มต้องทราบว่าตัวเองมีสิทธิ์จะมีความเสี่ยง (น.พ.วัลลภ ไทยเหนือ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข) 
        นื่องจากปัญหาสาธารณสุขไทยได้เปลี่ยนไปตามการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม จากสังคมเกษตรสู่สังคมอุตสาหกรรม ส่งผลกระทบต่อการดำรงชีวิตของประชาชน เช่น การบริโภคเปลี่ยนไป มีวิถีชีวิตที่รีบเร่ง การออกกำลังกายน้อยลง และมีความเครียดเพิ่มขึ้น สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังซึ่งเป็นโรคที่ไม่ติดต่อกำลังทวีความรุนแรงขึ้น จากสถิติปัญหาสาธารณสุขไทยมีอุบัติการณ์ของโรคเพิ่มขึ้น 5 อันดับแรกของผู้ป่วยที่มารักษาในโรงพยาบาลล้วนเป็นโรคที่ไม่ติดต่อ 
        ในปัจจุบันพบว่าโรคเหล่านี้ต้องใช้ยารักษาเพื่อควบคุมอาการตลอดชีวิต การรักษาด้วยยาเพียงอย่างเดียวไม่เพียงพอ จำเป็นต้องรักษาโดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การบริโภคอาหาร การออกกำลังกาย ทีมสุขภาพได้เห็นความสำคัญของการดูแลตนเอง การพัฒนาศักยภาพผู้ป่วย (Empowerment) การแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อปรับพฤติกรรม การใช้กิจกรรมค่ายเบาหวาน กิจกรรมค่ายความดันโลหิตสูง สถานที่จัดค่ายในชุมชน การดูแลสุขภาพที่บ้านโดยเพื่อนแกนนำ/ผู้นำท้องถิ่น/ทีมสุขภาพ ให้ครอบครัวได้เกิดความตระหนักและมีส่วนร่วม ศูนย์สุขภาพชุมชนบ้านปากพูนคิดว่าสิ่งเหล่านี้เป็นนวัตกรรมการส่งเสริมสุขภาพแบบยั่งยืน จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นร่วมกับ อบต. / แกนนำชุมชน / ผู้นำท้องถิ่น 
โรคที่เกิดกับผู้หนึ่งผู้ใดแล้ว ทำให้ผู้นั้นเจ็บป่วย หรือตาย แต่ไม่แพร่ขยายไปสู่ผู้อื่น โรคนี้มีสาเหตุมาจาก 
- พิษของแบคทีเรีย เช่น พิษจากแผล ฝี หนอง 
- พิษของเชื้อรา เช่น อะฟลาทอกซิน 
- พิษจากสารเคมี เช่น สารพิษกำจัดศัตรูพืช 
- พิษธรรมชาติในพืชและสัตว์ เช่น คางคก เห็ดพิษ 

แหล่งที่มา : sut.ac.th, panyathai.or.th

อัพเดทล่าสุด