โรคพุ่มพวง อาการ หมอเขียว โรคพุ่มพวง สมุนไพร โรคพุ่มพวง


747 ผู้ชม


โรคพุ่มพวง อาการ หมอเขียว โรคพุ่มพวง สมุนไพร โรคพุ่มพวง

 

โรคพุ่มพวง อาการ หมอเขียว โรคพุ่มพวง สมุนไพร โรคพุ่มพวงโรคพุ่มพวง อาการ หมอเขียว โรคพุ่มพวง สมุนไพร โรคพุ่มพวง SLE โรคพุ่มพวง อาการ หมอเขียว โรคพุ่มพวง สมุนไพร โรคพุ่มพวงโรคพุ่มพวง อาการ หมอเขียว โรคพุ่มพวง สมุนไพร โรคพุ่มพวง
Systemic Lupus Erythrematosus

          ในช่วงเวลาที่ผ่านมามักจะมีข่าว อาการและอันตรายจากภัยของโรคภูมิแพ้ ถึงขั้นทำให้เสียชีวิตอย่างดาราสาวที่มีชื่อว่า "หมอก-
ณัฏสิมา" และนักร้องดังอย่าง "พุ่มพวง ดวงจันทร์" ซึ่งเสียชีวิตด้วยโรคเอสแอลอี ซึ่งภาษาทางการแพทย์ว่า Systemic Lupus Erythrematosus (ซิสเทมิกลูปัสอิริทรีมาโตซัส) 
เอสแอลอี เป็นชื่อเรียกทับศัพท์ของอักษรย่อในภาษาอังกฤษ โรคนี้มักจะมีความผิดปกติ ของอวัยวะได้หลายระบบพร้อมๆ กัน และอาจมีความรุนแรง ทำให้พิการหรือเสียชีวิตได้ พบได้ทั้งในเด็กและผู้ใหญ่ พบมากในช่วงอายุ 20-45 ปี และพบในผู้หญิงมากกว่าผู้ชายประมาณ 10 เท่า

โรคพุ่มพวง อาการ หมอเขียว โรคพุ่มพวง สมุนไพร โรคพุ่มพวง

สาเหตุของโรคเอสแอลอี

          ยังไม่ทราบแน่ชัด แต่เชื่อว่าเป็นผลมาจากระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายมีการตอบสนองอย่างผิดปกติต่อเชื้อโรคหรือสารเคมีบางอย่าง ทำให้มีภูมิต้านทานต่อเนื้อเยื่อต่างๆ ของตัวเอง จึงจัดเป็น โรคภูมิแพ้ต่อตัวเอง หรือออโตอิมมูน (autoimmune) ชนิดหนึ่งเช่นเดียวกับโรคปวดข้อรูมาตอยด์
          แต่โรคนี้มักจะมีการอักเสบของอวัยวะหลายระบบ เช่น ผิวหนัง ข้อกระดูก ไต ปอด หัวใจ เลือด สมอง เป็นต้น บางครั้งอาจพบสาเหตุกระตุ้นให้อาการกำเริบ เช่น ยาบางชนิด (ซัลฟา, ไฮดราลาซีน, โปรเคนเอไมด์, เตตราซัยคลีนที่เสื่อม) การถูกแดด การกระทบกระเทือนทางจิตใจ การตั้งครรภ์

อาการของโรคเอสแอลอีอาการปวดตามข้อ

          ที่พบได้บ่อยคือ มีไข้ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้ำหนักลด ปวดเมื่อยตามตัว ปวดและบวมตามข้อต่างๆ ซึ่งโดยมากจะเป็นตามข้อเล็กๆ (เช่น ข้อนิ้วมือ นิ้วเท้า) ทั้งสองข้าง คล้ายๆ กับ โรคปวดข้อรูมาตอยด์ (แต่ต่างกันที่ไม่มีลักษณะหงิกงอ ข้อพิการ) ทำให้กำมือลำบาก 
          อาการเหล่านี้จะค่อยเป็นค่อยไป เป็นแรมเดือน 

โรคพุ่มพวง อาการ หมอเขียว โรคพุ่มพวง สมุนไพร โรคพุ่มพวง

โรคพุ่มพวง อาการ หมอเขียว โรคพุ่มพวง สมุนไพร โรคพุ่มพวง

โรคพุ่มพวง อาการ หมอเขียว โรคพุ่มพวง สมุนไพร โรคพุ่มพวง อาการปวดตามข้อ โรคพุ่มพวง อาการ หมอเขียว โรคพุ่มพวง สมุนไพร โรคพุ่มพวง

โรคพุ่มพวง อาการ หมอเขียว โรคพุ่มพวง สมุนไพร โรคพุ่มพวง อาการตัวร้อนเป็นไข้ โรคพุ่มพวง อาการ หมอเขียว โรคพุ่มพวง สมุนไพร โรคพุ่มพวง

          นอกจากนี้ผู้ป่วยยังมักจะมีผื่นหรือฝ้าแดงขึ้นที่ข้างจมูกทั้ง 2 ข้าง ทำให้มีลักษณะเหมือนปีกผีเสื้อ เรียกว่า ผื่นปีกผีเสื้อ (butterfly rash) 
          บางรายมีอาการแพ้แดด คือ เวลาไปถูกแดด ผิวหนังจะมีผื่นแดงเกิดขึ้น และผื่นแดงที่ข้างจมูก (ผื่นปีกผีเสื้อ) จะเกิดขึ้นชัดเจน อาการไข้และปวดข้อจะเป็นรุนแรงขึ้น 
          บางรายอาจมีจุดแดง (petichiae) หรือมีประจำเดือนมากกว่าปกติ ซึ่งอาจเป็นอาการระยะแรกของโรคนี้ ก่อนมีอาการอื่นๆ ให้เห็นชัดเจน บางครั้งแพทย์อาจวินิจฉัยว่าเป็น ไอทีพี 
          บางรายอาจมีอาการผมร่วงมาก มีจ้ำแดงๆ ขึ้นที่ฝ่ามือ นิ้วมือนิ้วเท้าซีดขาวและเปลี่ยนเป็นสีเขียวคล้ำเวลาถูกความเย็น (Raynaud 's phenomenon) ต่อมน้ำเหลืองโตทั่วไป ตับม้ามโต หรือมีภาวะซีดโลหิตจาง (จากเม็ดเลือดแดงถูกทำลาย) 
          ในรายที่เป็นรุนแรง อาจมีอาการบวมทั้งตัว(จากไตอักเสบ), หายใจหอบ(จากปอดอักเสบ ภาวะมีน้ำในช่องปอด หรือหัวใจวาย) ชีพจรเต้นเร็วหรือไม่เป็นจังหวะ(จากหัวใจอักเสบ) ในรายที่มีการอักเสบของหลอดเลือดในสมอง อาจทำให้มีอาการทางประสาท เช่น เสียสติ ซึม เพ้อ ประสาทหลอน แขนขาอ่อนแรง ตาเหล่ ชัก หมดสติ และอาจเสียชีวิตได้ภายใน 3-4 สัปดาห์ 
ส่วนมากจะมีอาการกำเริบ เป็นๆ หายๆ เริ้อรังเป็นปีๆ

อาการแทรกซ้อน


          อาจทำให้ไตอักเสบ ปอดอักเสบ หัวใจอักเสบ หัวใจวาย ไตวาย และอาจเกิดภาวะติดเชื้อร้ายแรงแทรกซ้อนได้

การรักษาโรคเอสแอลอี

          หากสงสัย ควรแนะนำไปโรงพยาบาล การตรวจเลือดพบว่า อีเอสอาร์ (ESR) สูง, พบ แอนตินิวเคลียร์แฟกเตอร์ (Antinuclear factor) และ แอลอีเซลล์ (LE cell) ตรวจปัสสาวะอาจพบสารไข่ขาวและเม็ดเลือดแดง นอกจากนี้ อาจทำการตรวจเอกซเรย์ คลื่นหัวใจ และตรวจคลื่นพิเศษอื่นๆ 

โรคพุ่มพวง อาการ หมอเขียว โรคพุ่มพวง สมุนไพร โรคพุ่มพวง

โรคพุ่มพวง อาการ หมอเขียว โรคพุ่มพวง สมุนไพร โรคพุ่มพวงโรคพุ่มพวง อาการ หมอเขียว โรคพุ่มพวง สมุนไพร โรคพุ่มพวง ตัวอย่างค่า ESR : Erythaocytl Sldimentation Rate  (ค่าความเป็นโรค) ของผู้ป่วยซึ่งมีอาการดีขึ้น โรคพุ่มพวง อาการ หมอเขียว โรคพุ่มพวง สมุนไพร โรคพุ่มพวงโรคพุ่มพวง อาการ หมอเขียว โรคพุ่มพวง สมุนไพร โรคพุ่มพวง
โดยทั่วไปค่า ESR ในคนปกติมีเพียง 2-3 สำหรับผู้ป่วยรายนี้ช่วงหลายปีก่อนมีค่า ESR สูงถึง 200 ขึ้นไป ปัจจุบัน 2545 อยู่ที่ 15

          การรักษา ในรายที่เป็นรุนแรง ควรให้สเตอรอยด์ เช่น เพร็ดนิโซโลน ขนาด 8-12 เม็ดต่อวันติดต่อกันเป็นสัปดาห์ หรือหลายเดือน เพื่อลดการอักเสบของอวัยวะต่างๆ 
          ถ้าไม่ได้ผล อาจต้องให้ยากดระบบภูมิคุ้มกัน หรือ ยากดอิมมูน(Immunosuppressive) เช่น ไซโคลฟอสฟาไมด์(Cyclophosphamide) อะซาไทโอพรีน(Azathioprine) เป็นต้น ยานี้เป็นยาอันตรายอาจทำให้ผมร่วงหรือหัวล้านได้ เมื่อหยุดยาผมจะงอกขึ้นใหม่ได้ 
          ในรายที่ไม่เป็นรุนแรง (เช่น มีไข้ ปวดข้อ มีผื่นแดงขึ้นที่หน้า) อาจให้ คลอโรควีน วันละ 1-2 เม็ด เพื่อช่วยลดอาการเหล่านี้ จนลดหรือเลิกใช้เพร็ดนิโซโลนลงได้ 
          นอกจากนี้ อาจให้ยารักษาตามอาการ เช่น ยาแก้ปวดลดไข้, ยาบำรุงโลหิต(ถ้าซีด), ยาปฏิชีวนะ(ถ้ามีการติดเชื้อ) เป็นต้น 
          ผลการรักษา ไม่แน่นอน ขึ้นอยู่กับความรุนแรงของโรค และตัวผู้ป่วย บางคนอาจมีโรคแทรกซ้อนและเสียชีวิตในเวลาไม่นาน บางคนอาจมีอาการกำเริบเป็นครั้งคราว ถ้าผู้ป่วยสามารถมีชีวิตรอดจากโรคแทรกซ้อนต่างๆ ได้เกิน 5 ปี โรคก็จะไม่กำเริบรุนแรง และค่อยๆ สงบไปได้ นานๆ ครั้งอาจมีอาการกำเริบแต่อาการมักจะไม่รุนแรง และผู้ป่วยสามารถมีชีวิตเยี่ยงคนปกติได้ 
          ถ้าไม่รักษาจะมีผลเสียอย่างไร โรคนี้มีความรุนแรงแตกต่างกันแล้วแต่บุคคลบางรายเป็นเพียงเล็กน้อย แต่บางรายอาจรุนแรงจนเสียชีวิตได้ พวกที่มีอาการเล็กน้อยถ้าไม่ได้รับการรักษาอาการอาจรุนแรงมากขึ้น ถ้ารุนแรงแล้วไม่รับการรักษาก็อาจจะเป็นอันตรายต่อชีวิตและอาจถึงแก่กรรมได้ ในระยะเวลาอันรวดเร็ว โรคนี้จะก่อให้เกิดอาการได้ในระบบอวัยวะได้หลายๆ อย่าง ในขณะเดียวกัน เช่นปวดข้อ ผื่น ปอดอักเสบ ไตอักเสบเบื้องต้น แต่ผู้ป่วยมักจะตายจากไตพิการ สมองอักเสบ ตกเลือด เม็ดเลือดแตก และหัวใจวาย 
          โรคนี้จะรักษาให้หายขาดได้หรือไม่ ไม่ได้ แต่สามารถควบคุมอาการได้จากการใช้ยา แต่ในปัจจุยันการรักษาได้ผลดีขึ้นมากโดยมีอัตราการมีชีวิตอยู่รอด และอยู่อย่างปกติมากกว่าสมัยก่อนๆ

ข้อแนะนำ

          1. โรคนี้สามารถแสดงอาการได้หลายแบบ เช่น มีไข้เรื้อรังคล้ายมาลาเรีย, มีจุดแดงขึ้นคล้ายไอทีพี, บวมคล้ายโรคไต, ชักหรือหมดสติคล้ายสมองอักเสบ, เสียสติ เพ้อ คลั่งคล้ายคนวิกลจริต เป็นต้น ดังนั้นถ้าพบผู้ป่วยที่มีอาการเรื้อรัง ไม่ว่าจะเป็นอาการของระบบใด โดยไม่ทราบสาเหตุควรนึกถึงโรคนี้ไว้เสมอ 
          2. โรคนี้ถึงแม้จะมีความรุนแรง แต่ถ้าติดต่อรักษากับแพทย์เป็นประจำ และปฏิบัติตามคำแนะนำของแพทย์อย่างเคร่งครัด จะช่วยลดอาการแทรกซ้อนและมีชีวิตยืนยาวได้ 
          3. ผู้ป่วยที่เป็นโรคนี้อาจป้องกันมิให้อาการกำเริบได้โดยการทำจิตใจให้สบายอย่าท้อแท้สิ้นหวังหรือวิตกกังวลจนเกินไป ส่วนผู้ที่แพ้แดดง่ายควรหลีกเลี่ยงการออกกลางแดด ถ้าจำเป็นต้องออกกลางแดด ควรกางร่ม ใส่หมวก หรือใส่เสื้อแขนยาว 
ควรพยายามหลีกเลี่ยงการติดเชื้อ เช่น อย่ากินอาหารหรือน้ำดื่มที่ไม่สะอาด อย่าเข้าใกล้คนที่ไม่สบาย อย่าเข้าไปในที่ๆ มีคนแออัด เป็นต้น และทุกครั้งที่รู้สึกไม่สบาย ควรรีบไปพบแพทย์ที่เคยรักษา
          ผู้ป่วยจะต้องปฏิบัติตัวอย่างไร
          1. ทำตามคำแนะนำของแพทย์และหมั่นไปรับการตรวจรักษาอย่างสม่ำเสมอ 
          2. หลีกเลี่ยงการตากแดด ใช้เครื่องสำอางที่ไม่จำเป็นอาจทำให้โรคกำเริบได้ 
          3. ทำจิตใจให้สงบและทำความเข้าใจในโรคที่เป็นแล้วยอมรับพร้อมทั้งปรับตัวให้เหมาะกับสภาพนั้นก็จะเป็นทางทำให้คุณภาพชีวิตดีขึ้น
          4. การรักษาโรคนี้มีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการติดต่อกับแพทย์โดยสม่ำเสมอทั้งนี้เพื่อประโยชน์ในการรักษาและประเมินผลการรักษาและความรุนแรงของโรคที่เกิดขึ้นเป็นระยะๆ ไป จะได้พิจารณาการรักษาต่อไปได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
          5. พึงเข้าใจว่าโรคนี้เป็นโรคที่เรื้อรังที่จะต้องรักษาต่อเนื่องเป็นเวลานาน และโรคนี้อาจจะสงบได้ในที่สุด

ที่มา : ตำราการตรวจโรคทั่วไปของ นายแพทย์สุรเกียรติ อาชานานุภาพ
และแผ่นพับเรื่อง"ข้อแนะนำสำหรับผู้ป่วยโรคลูปุส" โดย ศ.นพ. อุทิศ ดีสมโชค


แหล่งที่มา : csjoy.com

อัพเดทล่าสุด