สมุนไพรรักษาโรครูมาตอยด์ ชื่อพืชสมุนไพรกับโรครูมาตอยด์ การดูแล รักษา โรครูมาตอยด์
สารสกัดสมุนไพร กับ โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ "RHEUMATOID"
โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ คือ โรคข้ออักเสบเรื้อรังชนิดหนึ่ง เป็นความผิดปกติเรื้อรัง ซึ่งระบบภูมิคุ้มกันรุกรานเนื้อเยื่อในร่างกายหลายแห่งโดยเฉพาะส่วนข้อ ทำให้เกิดการอักเสบและทำให้ข้อเสื่อม
https://www.neolifeonlinecenter.com/neolife-product/?id=Phanchanok
อาการแบ่งเป็น 2 ระยะ คือ
ระยะที่ไม่มีอาการ ผู้ป่วยจะรู้สึกสบายดี
ส่วนระยะที่อาการกำเริบ ผู้ป่วยจะมีอาการเมื่อยล้า เบื่ออาหาร มีไข้ต่ำๆ ปวดกล้ามเนื้อและข้อ กล้ามเนื้อและข้อเกร็ง (พบมากในช่วงเช้า) ข้อเปลี่ยนเป็นสีแดง บวม ปวด นิ่ม โดยทั่วไปจะเกิดขึ้นทั้ง 2 ข้างของร่างกายสมดุลกัน มักเกิดกับข้อเล็ก อาการอักเสบเรื้อรัง ของเยื่อบุข้อเกือบทุกข้อทั่วร่างกาย รวมทั้งมีการอักเสบของพังผืดหุ้มข้อ เส้นเอ็นและกล้ามเนื้อรอบๆ ข้อ หากมีการอักเสบเรื้อรังเป็นเวลานาน ถึงขั้นพิการได้
https://member.neolifeonlinecenter.com/?id=Phanchanok
ตำแหน่งที่พบบ่อยคือ ข้อมือ ข้อนิ้วมือ มีอาการฝืดตึงข้อ ข้อที่มีอาการอักเสบก่อนคือ ข้อนิ้วมือนิ้วเท้า ข้อมือ ข้อเท้า ข้อเข่า ต่อมาจะเป็นข้อศอก ข้อไหล่ ผู้ป่วยมักจะมีลักษณะจำเพาะ คือ มีอาการปวดข้อพร้อมกันและคล้ายคลึงกันทั้งสองข้าง และข้อจะบวม แดง ร้อน นิ้วมือนิ้วเท้าจะบวมเหมือนรูปกระสวย ต่อมาอาการอักเสบจะลุกลามไปทุกข้อทั่วร่างกาย อาการปวดข้อและข้อแข็ง (การขยับข้อได้ลำบาก) มักจะเป็นมากในช่วงตื่นนอน ตอนเช้า พอสายๆ หรือหลังมีการเคลื่อนไหวของร่างกายก็จะทุเลาลง
หากทิ้งไว้เรื้อรัง จะลุกลามมีผลทำลายอวัยวะอื่นๆ เช่น ปอด หัวใจ เม็ดเลือด ทำให้ต่อมน้ำตาฝ่อ ตาแห้งฝืด ฯลฯ
หากทิ้งไว้เรื้อรัง จะลุกลามมีผลทำลายอวัยวะอื่นๆ เช่น ปอด หัวใจ เม็ดเลือด ทำให้ต่อมน้ำตาฝ่อ ตาแห้งฝืด ฯลฯ
พบมากในช่วงอายุ 40 ปี ไม่ใช่โรคติดต่อ โดยพบในเพศหญิงมากกว่าเพศชายประมาณ 4-5 เท่า
สาเหตุการเกิดโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์คืออะไร?
สาเหตุของการเกิดโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ยังไม่เป็นที่ทราบแน่ชัด จากการศึกษาพบว่ามีปัจจัยหลายประการที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ได้แก่ ปัจจัยทางพันธุกรรม ปัจจัยทางการติดเชื้อ ปัจจัยทางด้านฮอร์โมนเพศ และปัจจัยทางระบบภูมิต้านทาน
https://www.neolifeonlinecenter.com/neolife-product/?id=Phanchanok
จะรับประทานอาหารอะไรได้บ้างที่ไม่มีผลทำให้อาการกำเริบ?
อาหารที่ไม่มีผลกระตุ้นให้เกิดอาการปวดข้อ ที่มีบทความต่างประเทศแนะนำไว้ ได้แก่
- ข้าวกล้อง
- ผลไม้ที่ผ่านความร้อน หรือทำแห้ง ได้แก่ เชอรี่ แครนเบอรี่ ลูกแพร์ ลูกพรุน (ยกเว้น ผลไม้ตระกูลส้ม กล้วย ลูกพีช หรือมะเขือเทศ)
- ผักสีเขียว เหลือง และส้ม ที่ผ่านความร้อน ได้แก่ หัวอาร์ติโช้ค หน่อไม้ฝรั่ง บร็อคโคลี่ ผักกาดแก้ว ผักโขม ถั่วฝักยาว มันเทศ มันสำปะหลัง และเผือก เป็นต้น
- น้ำ ได้แก่ น้ำธรรมดา หรือ โซดา
- เครื่องปรุงรส ได้แก่ เกลือปริมาณปานกลาง น้ำเชื่อมเมเปิ้ล และสารสกัดวานิลา
ควรหลีกเลี่ยงอาหารอะไรบ้าง?
อาหารที่มีผลกระตุ้นให้อาการกำเริบ คือ ผลิตภัณฑ์นมทุกชนิด ทั้งจากนมวัวและนมแพะ ข้าวโพด เนื้อสัตว์ทุกชนิด ข้าวสาลี ข้าวโอ๊ต ข้าวราย ไข่ ผลไม้ตระกูลส้ม มันฝรั่ง มะเขือเทศ ถั่ว กาแฟ
อาหารอื่นที่อาจจะรับประทานได้ หรือควรจะหลีกเลี่ยงเพิ่มเติม มีอะไรบ้าง?
อาหารบางชนิดที่อาจจะกระตุ้นให้อาการกำเริบได้ในบางคน แต่ไม่กระตุ้นอาการในคนกลุ่มใหญ่ เช่น เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ กล้วย ช็อกโกแล็ต มอลต์ ไนเตรต หอมใหญ่ ผลิตภัณฑ์ถั่วเหลือง น้ำตาลอ้อย และเครื่องเทศบางชนิด
การบำบัดรักษา
สำหรับการบำบัดรักษาโรคปวดข้อรูมาตอยด์ ด้วยยาแก้ปวด ยาแก้อักเสบ หรือยากดภูมิคุ้มกัน อาจไม่ใช่ทางออกที่ดีที่สุดสำหรับผู้ป่วย เนื่องจากเป็นเพียงการบรรเทาอาการปวดและอาการอักเสบชั่วคราวเท่านั้น มิได้ หยุดยั้งการลุกลามของโรค
https://www.neolifeinter.com/th_sara/herbC.html
ส่วนการแพทย์จีนได้จัดโรคปวดข้อรูมาตอยด์ให้อยู่ในกลุ่มโรคที่เกิดจาก เส้นลมปราณติดขัด เนื่องจากพิษของลมและเย็น-ชื้น ที่สะสมในร่างกายมีการแทรกเข้าไปบริเวณข้อและเส้นลมปราณที่หล่อเลี้ยงข้อ ทำให้เส้นลมปราณติดขัดและเกิดการคั่งของพลังลมปราณและเลือดบริเวณข้อ ผลที่ตามมาคือ ข้อต่อจะยึดติด เคลื่อนไหวไม่สะดวก พร้อม ทั้งมีอาการปวด บวม แดงและร้อนที่ข้อด้วย หากปล่อยไว้เรื้อรัง เส้นลมปราณก็จะตีบตันในที่สุด ทำให้กล้ามเนื้อลีบและข้อพิการจนใช้งานไม่ได้
การแพทย์จีนจึงนิยมการบำบัดโรคปวดข้อรูมาตอยด์แบบองค์รวม คือ ขจัดพิษของลมและเย็น-ชื้นที่เป็นต้นเหตุสำคัญของข้ออักเสบให้ออกจากร่างกาย เพื่อหยุดยั้งการลุกลามของโรค สลายเลือดคั่งบริเวณข้อ จึงบรรเทาความฝืดแข็งและอาการปวด แดง บวม ร้อนของข้อได้อย่างมีประสิทธิภาพ ช่วยให้ข้อทำงานได้ตามปกติ
สมุนไพรที่สามารถลดอาการปวดของรูมาตอยด์ได้ แนะนำให้ทานเป็นสารสกัดสมุนไพร ของ "ผลิตภัณฑ์นีโอไลฟ์" ที่จะช่วยฟื้นฟูระบบภายในร่างกาย จากภายในสู่ภายนอก
กระดูอ่อนจากปลาฉลาม shark cartilage + สารสกัดจากปลิงทะเล sea cucumber
https://www.neolifeinter.com/th_sara/shark.html
https://www.neolifeinter.com/th_sara/2011_06_sara/2011_shark_cartilage.html
https://www.neolifeinter.com/th_sara/2011_06_sara/2011_seaClumber.html
สารสกัดน้ำมันปลา fish oil
https://www.neolifeinter.com/th_sara/2011_06_sara/2011_fish_revise.html
https://www.neolifeinter.com/th_sara/3.html
สารสกัดอัลฟัลฟา (Alfalfa)
https://www.neolifeinter.com/th_sara/alfa.html
https://www.neolifeinter.com/th_sara/2011_06_sara/2011_Alfalfa.html
8 สารอาหารบรรเทาปวดไขข้อ
มีข้อมูลว่าอาหารบางชนิดช่วยลดความเสี่ยงหรือการอักเสบของโรครูมาตอยด์ได้หากกินเป็นประจำ
กรดโอเมกา-3 มีผลต้านการอักเสบในร่างกาย โอเมกา-3 ที่ได้จากอาหารทะเลมีกรดอีพีเอ (EPA = eicsapentaanoic) และดีเอชเอ ซึ่งลดการอักเสบของไขข้อ ผลวิจัยพบว่าการเพิ่มกรดโอเมกา-3 ในอาหาร มีผลโดยตรงในการลดซี–รีแอคทีฟโปรตีนซึ่งกระตุ้นการอักเสบ อาหารที่มีกรดโอเมกา-3 สูง ได้แก่ ปลาทะเล (แซลมอน ทูน่า เทร้าส์ แมคเคอเรล) วอลนัท เต้าหู้ ผลิตภัณฑ์จากถั่วเหลือง แฟลกซ์สีด น้ำมันจากเมล็ดแฟลกซ์สีด และน้ำมันคาโนลา น้ำมันปลา การวิจัยชี้ให้เห็นว่า น้ำมันปลาช่วยลดอาการปวดไขข้อและลดปริมาณการใช้ยาต้านการอักเสบได้ แต่อาจจะต้องกินติดติอกันประมาณ 3-4 สัปดาห์จึงจะเห็นผล มีคำเตือนว่าน้ำมันปลาอาจมีระดับวิตามินเอหรือสารปรอทสูงจึงควรปรึกษาแพทย์
สารฟลาโวนอยด์ ช่วยต้านเชื้อไวรัส ต้านการอักเสบ และลดการเกิดโรคที่เกี่ยวกับความเสื่อมของร่างกาย เช่น โรคหัวใจ เบาหวาน ไขข้อ เป็นต้น สารฟราโวนอยด์พบในชาเขียว กระเทียม แอ๊ปเปิ้ล เบอร์รี่ ผลไม้ตระกูลส้ม และหอมหัวใหญ่
กรดโฟลิกหรือโฟเลต หรือวิตามินบี 9 พบมากในตับ และผักสีเขียว เช่น ผักโขม ผักคะน้า ส่วนผลไม้ พบมากในส้มและแคนตาลูป ผู้ป่วยโรคไขข้อควรเสริมวิตามินชนิดนี้เพราะมีส่วนช่วยสร้างเซลล์เม็ดเลือด แดง โดยเฉพาะผู้ป่วยที่กินยาเมทโธเทรกเซท (Methotrexate) จำเป็นต้องเสริมกรดโฟลิกเพื่อบรรเทาอาการปวดหรืออักเสบ
ซีลีเนียม ช่วยลดอนุมูลอิสระที่จะทำลายเนื้อเยื่อที่แข็งแรง และช่วยเสริมการทำงานของเอนไซม์ชนิดกลูตาไธโอนเพอร็อกซิเดสที่ต่อสู้กับการ อักเสบ ผลวิจัยพบว่า คนที่มีระดับซีลีเนียมต่ำจะมีความเสี่ยงเกิดโรครูมาตอยด์มากขึ้น การกินทูน่าประมาณ 100 กรัม จะช่วยให้ได้รับซีลีเนียมเพียงพอตลอดทั้งวันวิตามินซี มีประโยชน์ต่อเนื้อเยื่อภายในข้อและมีฤทธิ์ต้านการอักเสบ พบได้ในผลไม้ประเภทส้ม พริกไทย สตรอว์เบอร์รี่ เป็นต้น
วิตามินดีและแคลเซียม ควรรับประทานอาหารที่มีวิตามินดีและแคลเซียมให้เพียงพอ โดยเฉพาะผู้ที่ต้องกินยาประเภทคอร์ติสเตียรอยด์ ซึ่งทำให้เนื้อกระดูกและระดับวิตามินดีในเลือดต่ำ มีผลให้ข้อเสื่อมเร็วขึ้น อาหารที่มีวิตามินดีสูง ได้แก่ น้ำมันตับปลา เนย ครีม ไข่แดง ตับ และอาหารที่มีแคลเซียมสูง ได้แก่ ผักใบเขียวจัด เช่น บรอคโคลี ปลาซาร์ดีนและแซลมอนกระป๋อง (ทั้งกระดูก) เต้าหู้
แอลกอฮอล์ มีงานวิจัยในปี 2008 สรุปว่า แอลกอฮอล์ช่วยป้องกันโรคไขข้อ แต่ไม่ได้ระบุถึงปริมาณที่แนะนำ ผู้ที่กินยาเมทโธเทรกเซทควรหลีกเลี่ยงการดื่มแอลกอฮอล์เพราะอาจมีผลข้าง เคียงต่อตับ
อาหารเหล่านี้...ยิ่งกินยิ่งปวด
มูลนิธิโรครูมาตอยด์หรือไขข้อเปิดเผยว่า ยังไม่มีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ที่แสดงว่าอาหารจะรักษาโรคไขข้อให้หายขาดได้ ในทางตรงกันข้ามอาหารบางชนิดทำให้อาการปวดไขข้อแย่ลง งานวิจัยล่าสุดพบว่า ผู้ที่มีปัญหาโรครูมาตอยด์ 30 – 40 เปอร์เซ็นต์มีอาการดีขึ้นเมื่องดอาหารที่สงสัยว่าทำให้ปวด โดยการเริ่มกินอาหารที่ต้องสงสัยทีละน้อยและสังเกตว่ามีอาการปวดข้อหรือไม่ วิธีนี้จะช่วยให้หาอาหารที่กระตุ้นอาการปวดไขข้อได้ และเมื่องดอาหารเหล่านี้อาการปวดไขข้อก็จะดีขึ้นด้วย
กรดไขมันอิ่มตัว มีงานวิจัยชี้ให้เห็นว่าไขมันอิ่มตัวอาจเพิ่มการอักเสบ เนื่องจากกรดไขมันอิ่มตัวไปกระตุ้นการสร้างสารพรอสตาแกลนดินที่ก่อให้เกิด การอักเสบ อาการปวดบวมและข้อเสื่อมในโรครูมาตอยด์ อาหารที่มีไขมันอิ่มตัวสูง ได้แก่ เนื้อสัตว์ติดมัน เนย ครีม เป็นต้น
กรดไขมันโอเมกา-6 เป็นไขมันที่พบในน้ำมันพืชที่มีกรดไลโนเลอิค เช่น น้ำมันข้าวโพด ถั่วเหลือง ดอกทานตะวัน จมูกข้าวสาลี เป็นต้น
https://www.neolifeonlinecenter.com/?id=phanchanok
คำเตือน : ท่านต้องปรึกษา แพทย์ประจำบริษัท เบอร์โทร.02-401-1000 เกี่ยวกับประวัติโรคที่ท่านเป็น ก่อนสั่งซื้อ "ผลิตภัณฑ์นีโอไลฟ์" เพื่อท่านจะได้รับประโยชน์สูงสุด
แหล่งที่มา : phanchanoksilaruethai.blogspot.com