โรคติดต่อทางพันธุกรรมมีอะไรบ้าง รายชื่อโรคติดต่อทางพันธุกรรม รูปโรคติดต่อทางพันธุกรรม


829 ผู้ชม


โรคติดต่อทางพันธุกรรมมีอะไรบ้าง รายชื่อโรคติดต่อทางพันธุกรรม รูปโรคติดต่อทางพันธุกรรม

 

โรคทางพันธุกรรม โรคติดต่อทางพันธุกรรม โรคทางพันธุกรรมหมายถึงอะไร

โรคทางพันธุกรรม

โรคทางพันธุกรรม หมายถึง โรคที่มีความผิดปกติขององค์ประกอบของจีน 
และโครโมโซม ซึ่งจีนและโครโมโซมนี้เป็นตัวกำหนดลักษณะทางพันธุกรรม เมื่อมีความผิด ปกติเกิดขึ้นจะทำให้เกิดการถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์จากพ่อแม่สู่ลูกโดยตรง,

ชนิดของโรคทางพันธุกรรม โรคทางพันธุกรรม จำแนกได้ 3 ชนิด คือ

       1. โรคทางพันธุกรรมที่เกิดความผิดปกติในการแบ่งตัวของโครโมโซม 
ขณะกำลังเกิดการปฏิสนธิ หรือขณะที่ไข่และอสุจิผสมกันเป็นตัวอ่อนแล้ว 
       2. โรคทางพันธุกรรมที่มีความผิดปกติในการเรียงตัวของโครโมโซม 
       3. โรคทางพันธุกรรมที่มีความผิดปกติในการแยกคู่ของโครโมโซมในระหว่าง การแบ่งตัว

 

โรคทางพันธุกรรม

โรคทางพันธุกรรม

โรคทางพันธุกรรมที่มีผลต่อการตั้งครรภ์ โรคทางพันธุกรรมที่พบได้บ่อย ได้แก่ 
        1. โรคทาลัสซีเมีย(Thalassemia)   เป็นโรคทางพันธุกรรมที่มีความผิดปกติของสารสีแดงในเม็ด
เลือด ทำให้ผู้ป่วยมีอาการโลหิตจางเรื้อรัง  เป็นโรคเลือดชนิดหนึ่งที่มีความผิดปกติทางกรรมพันธุ์ ทำให้ร่าง
กายสร้างเม็ดเลือดแดงที่มีลักษณะผิดปกติ จึงมีการแตกสลายเร็วกว่าที่ควร ทำให้มีอาการซีดเหลืองเรื้อรัง ผู้
ที่มีอาการแสดงของโรคนี้ จะต้องรับกรรมพันธุ์ที่ผิดปกติมาจากทั้งฝ่ายพ่อและแม่ (ซึ่งอาจไม่มีอาการแสดง)
 ถ้ารับจากฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเพียงฝ่ายเดียว จะไม่มีอาการแสดง แต่จะมีกรรมพันธุ์ที่ผิดปกติอยู่ใน
ตัวและสามารถถ่ายทอดไปยังลูกหลานต่อไป

เซลล์เม็ดเลือดแดง
เซลล์เม็ดเลือดแดง

Alpha ทาลัสซีเมีย
Alpha ทาลัสซีเมีย

Beta ทาลัสซีเมีย
Beta ทาลัสซีเมีย

2. โรคฮีโมฟีเลีย  (Hemophilia)   เป็นโรคทางพันธุกรรมที่ปัจจัยการแข็งตัวของเลือดผิดปกติ 
ทำให้ผู้ป่วยมีอาการเลือดออกไม่หยุดหรือหยุดยาก 
 

โรคทางพันธุกรรม

3. โรคดาว์นซินโดรม  (Down syndrome)  เป็นโรคทางพันธุกรรมที่เด็กจะมีอาการปัญญาอ่อน
 และ หน้าตาดูแปลกไปจากปกติ มักพบในเด็กที่แม่ตั้งครรภ์เมื่ออายุเกิน 35 ปี

โรคทางพันธุกรรม

นอกจากโรคที่พบได้บ่อยทั้ง 3 โรค ดังกล่าวแล้ว โรคทางพันธุกรรมยังมีอีก หลายชนิดซึ่งแต่ละโรค
ล้วนทำให้เกิดความผิดปกติต่อมารดาโดยตรง บางโรคอาจทำให้คลอดยาก มีภาวะแท้ง ภาวะแทรกซ้อน
ต่าง ๆ โรคหัวใจ เป็นต้น โรคบางโรคยังมีผลต่อการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์มีผลต่อการเจริญ ของ
เซลล์สมอง อาจทำให้ทารกตายในครรภ์หรือพิการแต่กำเนิดได้ วิธีการป้องกันโรค เหล่านี้ ไม่ให้เกิดขึ้นกับ
ทารกในครรภ์คือการปรึกษาแพทย์หรือรับการตรวจร่างกายทั้งสามีและภรรยา ก่อนการตั้ง

 

 

แหล่งที่มา : krucherdpua.com , zoneza.com

อัพเดทล่าสุด