รูปภาพโรคติดต่อทางพันธุกรรม โรคติดต่อทางพันธุกรรม คือ โรคเบาหวาน โรคติดต่อทางพันธุกรรม


1,140 ผู้ชม


รูปภาพโรคติดต่อทางพันธุกรรม โรคติดต่อทางพันธุกรรม คือ โรคเบาหวาน โรคติดต่อทางพันธุกรรม

 

  โรคเบาหวาน โรคติดต่อทางพันธุกรรม

รูปภาพโรคติดต่อทางพันธุกรรม โรคติดต่อทางพันธุกรรม คือ โรคเบาหวาน โรคติดต่อทางพันธุกรรม นิยาม รูปภาพโรคติดต่อทางพันธุกรรม โรคติดต่อทางพันธุกรรม คือ โรคเบาหวาน โรคติดต่อทางพันธุกรรม

รูปภาพโรคติดต่อทางพันธุกรรม โรคติดต่อทางพันธุกรรม คือ โรคเบาหวาน โรคติดต่อทางพันธุกรรม


          โรคเบาหวานเป็นโรคเรื้อรัง ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ แต่สามารถควบคุมระดับน้ำตาล ในเลือด และปัสสาวะให้เป็นปกติได้ โรคนี้สามารถถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์ไปสู่บุตรหลานได้


รูปภาพโรคติดต่อทางพันธุกรรม โรคติดต่อทางพันธุกรรม คือ โรคเบาหวาน โรคติดต่อทางพันธุกรรม เบาหวานคืออะไร รูปภาพโรคติดต่อทางพันธุกรรม โรคติดต่อทางพันธุกรรม คือ โรคเบาหวาน โรคติดต่อทางพันธุกรรม
         
 เบาหวานเกิดจากตับอ่อนไม่สามารถสร้างอินซูลินได้อย่างเพียงพอ หรือร่างกายตอบสนองต่ออินซู ลินได้น้อยกว่าปกติ จึงไม่สามารถเผาผลาญคาร์โบไฮเดรตรวมถึงโปรตีน และไขมันบางส่วนได้อย่าง เหมาะสม ทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ และเสี่ยงต่อโรคแทรกซ้อนหลายอย่าง เช่น หัวใจวาย ตาบอด ไตวาย อัมพฤกษ์ อัมพาตและโรคติดเชื้อ เป็นต้น


           ในระยะยาวจะมีผลในการทำลายหลอดเลือด ถ้าหากไม่ได้รับการรักษาอย่างเหมาะสมอาจนำ ไปสู่สภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงได้ปี 2550 พบผู้ป่วยเบาหวานแล้วถึง 246 ล้านคน โดยผู้ป่วยเบา หวานทั่วโลก 4 ใน 5 เป็นชาวเอเชีย

รูปภาพโรคติดต่อทางพันธุกรรม โรคติดต่อทางพันธุกรรม คือ โรคเบาหวาน โรคติดต่อทางพันธุกรรม

รูปภาพโรคติดต่อทางพันธุกรรม โรคติดต่อทางพันธุกรรม คือ โรคเบาหวาน โรคติดต่อทางพันธุกรรม ชนิดของเบาหวาน รูปภาพโรคติดต่อทางพันธุกรรม โรคติดต่อทางพันธุกรรม คือ โรคเบาหวาน โรคติดต่อทางพันธุกรรม
          เบาหวานสามารถแบ่งออกเป็น 2 ชนิดใหญ่ๆ ที่มีอาการ สาเหตุ  ความรุนแรง และการรักษาต่างกัน ได้แก่


           เบาหวานชนิดพึ่งอินซูลิน (Insulin-dependent diabetes mellitus/ IDDM)  Type I Diabetes
               เป็นชนิดที่พบได้น้อย แต่มีความรุนแรงและอันตรายสูงมักพบในเด็กและคนอายุต่ำกว่า 25 ปี แต่ก็อาจพบในคนสูงอายุได้บ้าง ตับอ่อนของผู้ป่วยชนิดนี้ จะสร้างอินซูลินไม่ได้เลย หรือได้น้อยมาก เชื่อว่าร่างกายมีการสร้างแอนติบอดีขึ้น ต่อต้านทำลายตับอ่อนของตัวเอง จนไม่สามารถสร้างอินซูลินได้ ดังที่เรียกว่า "โรคภูมิแพ้ต่อตัวเอง" หรือ "ออโตอิมมูน (autoimmune)" ทั้งนี้ เป็นผลมาจากความผิดปกติ ทางกรรมพันธุ์ ร่วมกับการติดเชื้อ หรือการได้รับสารพิษจากภายนอก ผู้ป่วยจำเป็นต้องพึ่งพาการฉีด อินซูลินเข้าทดแทนในร่างกายทุกวัน จึงจะสามารถเผาผลาญน้ำตาลได้เป็นปกติ มิเช่นนั้น ร่างกายจะเผา ผลาญไขมันจนทำให้ผ่ายผอมอย่างรวดเร็ว และถ้าเป็นรุนแรง จะมีการคั่งของสารคีโตน (ketones) ซึ่งเป็นสารที่เกิดจากการเผาผลาญไขมัน สารนี้จะเป็นพิษต่อระบบประสาททำให้ผู้ป่วยหมด สติ ถึงตายได้รวดเร็ว เรียกว่า "ภาวะคั่งสารคีโตน หรือ คีโตซิส (Ketosis)"


           เบาหวานชนิดไม่พึ่งอินซูลิน 
(Non-insulin-dependent diabetes mellitus/
NIDDM) Type II Diabetes
               เป็นเบาหวานชนิดที่พบเห็นกันเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งมักจะมีความรุน แรงน้อย มักพบในคนอายุมาก กว่า 40 ปีขึ้นไป แต่ก็อาจพบในเด็ก หรือวัยหนุ่มสาวได้บ้าง ตับอ่อนของผู้ป่วยชนิดนี้ยังสามารถสร้าง อินซูลิน แต่ไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย จึงทำให้มีน้ำตาลที่เหลือใช้ กลายเป็นเบาหวานได้ ผู้ป่วยชนิดนี้ยังอาจแบ่งเป็นพวกที่อ้วนมาก ๆ กับพวกที่ไม่อ้วน(รูปร่างปกติหรือผอม) สาเหตุอาจเกิดจาก กรรมพันธุ์ อ้วนเกินไป มีลูกดก จากการใช้ยา หรือพบร่วมกับโรคอื่นๆ ผู้ป่วยมักไม่เกิดภาวะคีโตซิส เช่นที่ เกิดกับชนิดพึ่งอินซูลิน การควบคุมอาหาร หรือการใช้ยาเบาหวานชนิดกิน ก็มักจะได้ผลในการควบคุม ระดับน้ำตาลในเลือดให้ปกติได้ หรือบางครั้งถ้าระดับน้ำตาลสูงมาก ๆ ก็อาจต้องใช้อินซูลินฉีดเป็นครั้ง คราว แต่ไม่ต้องใช้อินซูลินตลอดไป จึงถือว่าไม่ต้องพึ่ง อินซูลิน 


รูปภาพโรคติดต่อทางพันธุกรรม โรคติดต่อทางพันธุกรรม คือ โรคเบาหวาน โรคติดต่อทางพันธุกรรม สาเหตุ รูปภาพโรคติดต่อทางพันธุกรรม โรคติดต่อทางพันธุกรรม คือ โรคเบาหวาน โรคติดต่อทางพันธุกรรม
          

           โรคนี้เกิดจากตับอ่อนสร้างฮอร์โมนอินซูลิน (lnsulin) ได้น้อยหรือไม่ได้เลย ฮอร์โมนชนิดนี้ มีหน้าที่คอยช่วยให้ร่างกาย เผาผลาญน้ำตาลให้เป็นพลังงาน  เมื่ออินซูลินในร่างกายไม่พอ หรือมีพอแต่ ใช้ไม่ได้ น้ำตาลก็ไม่ถูกนำไปใช้ จึงเกิดการคั่งของน้ำตาลในเลือด และอวัยวะต่าง ๆ เมื่อน้ำตาลคั่งใน เลือดมาก ๆ ก็จะถูกไตกรองออกมาในปัสสาวะทำให้ปัสสาวะหวาน หรือมีมดขึ้นได้จึงเรียกว่า เบาหวาน ผู้ป่วยมักจะมีอาการปัสสาวะบ่อยและมาก เนื่องจากน้ำตาลที่ออกมาทางไต จะดึงเอาน้ำออกมาด้วยจึงทำ ให้มีปัสสาวะมากกว่าปกติ เมื่อถ่ายปัสสาวะมากก็ทำให้รู้สึกกระหายน้ำ ต้องคอยดื่มน้ำบ่อย ๆ  เนื่องจากผู้ ป่วยไม่สามารถนำ น้ำตาลมาเผาผลาญเป็นพลังงาน จึงหันมาเผาผลาญกล้ามเนื้อ และไขมันแทนทำให้ ร่างกายผ่ายผอม ไม่มีไขมัน กล้ามเนื้อฝ่อลีบ อ่อนเปลี้ย เพลียแรง นอกจากนี้ การมีน้ำตาลคั่งอยู่ในอวัยวะ ต่าง ๆ ทำให้อวัยวะต่างๆ เกิดความผิดปกติ และนำมาซึ่งภาวะแทรกซ้อนมากมาย โรคนี้มักมีส่วนเกี่ยวข้อง กับกรรมพันธุ์ กล่าวคือ มักมีพ่อแม่ หรือญาติพี่น้อง เป็นโรคนี้ด้วย 

          

            นอกจากนี้ ยังอาจมีสาเหตุอย่างอื่น เช่น อ้วนเกินไป (หรือกินหวานมาก ๆ จนอ้วนก็อาจเป็นเบา หวานได้) มีลูกดก หรือเกิดจากการใช้ยา เช่น สเตอรอยด์, ยาขับ ปัสสาวะ, ยาเม็ดคุมกำเนิด หรืออาจพบ ร่วมกับโรคอื่น ๆ เช่นตับอ่อนอักเสบเรื้อรัง, มะเร็งของตับอ่อน, ตับแข็งระยะสุดท้าย, โรคฟีโอโครโมไซโต มา (Pheochromocytoma)  ซึ่งเป็นเนื้องอกของต่อมหมวกไตชนิดหนึ่ง, โรคคุชชิง  เป็นต้น

 
รูปภาพโรคติดต่อทางพันธุกรรม โรคติดต่อทางพันธุกรรม คือ โรคเบาหวาน โรคติดต่อทางพันธุกรรม

รูปภาพโรคติดต่อทางพันธุกรรม โรคติดต่อทางพันธุกรรม คือ โรคเบาหวาน โรคติดต่อทางพันธุกรรม อาการของผู้เป็นเบาหวาน รูปภาพโรคติดต่อทางพันธุกรรม โรคติดต่อทางพันธุกรรม คือ โรคเบาหวาน โรคติดต่อทางพันธุกรรม
     อาการ : ระยะแรกไม่มีอาการบ่งชัด เมื่อเป็นระยะหลัง จะมีอาการชัดเจนคือ

           ดื่มน้ำบ่อยและมาก
           กินจุแต่ผอมลง
           เป็นแผลหรือฝีง่าย แต่หายยาก 
           ตาพล่ามัว
           บุตรคนแรกคลอดน้ำหนักเกิน 4 กิโลกรัม 
           ปัสสาวะบ่อยและมาก
           น้ำหนักลด และอ่อนเพลีย
           ปลายมือ ปลายเท้าชา
           สมรรถภาพทางเพศบกพร่อง โดยเฉพาะในเพศชาย
           อาจไม่มีอาการใดๆ เกิดขึ้น โดยเฉพาะในรายที่เริ่มมีอาการไม่นาน มักพบบ่อยได้โดยบังเอิญ จากการตรวจร่างกายประจำปี เพราะฉะนั้นคนทั่วไปเมื่ออายุเกิน 40 ปี จึงควรตรวจร่างกายอย่างสม่ำเสมอ เพื่อการค้นพบโรคต่างๆ ล่วงหน้า และเตรียมพร้อมในการรักษา
           ผู้ป่วยบางรายอาจมาด้วยอาการของโรคแทรกซ้อน เช่น โรคตา โรคหัวใจขาดเลือด อัมพฤกษ์ เป็นต้น
 

รูปภาพโรคติดต่อทางพันธุกรรม โรคติดต่อทางพันธุกรรม คือ โรคเบาหวาน โรคติดต่อทางพันธุกรรม


 การรักษาผู้เป็นเบาหวานมีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 

      ลดอาการที่เกิดจากน้ำตาลสูง 
      ลดภาวะแทรกซ้อนทั้งแบบเฉียบพลัน เช่น ช็อกจากน้ำตาลสูง, ติดเชื้อ, ภาวะเลือดเป็นกรด หรืออา การแทรกซ้อนระยะยาว เช่น ไตวาย, ตาบอด, ปลายประสาทเสื่อม, แผลที่เท้า ซึ่งต้องสูญเสียเท้าหรือขา 
      เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี  และมีความสุขในเด็ก ต้องให้เด็กสามารถเจริญเติบโต และพัฒนาการได้อย่าง ปรกติ
      ในคนท้อง  ต้องไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนระหว่างการตั้งครรภ์  ให้ปลอดภัยทั้งลูกและแม่


      เมื่อวินิจฉัยได้แน่นอน และอธิบายให้ผู้ป่วยทราบ, ตั้งตัวและทำใจได้แล้ว (อันนี้สำคัญมากเพราะถ้า ผู้ป่วยหรือญาติไม่เข้าใจ จะทำให้การักษาไม่ได้ผลดี และล้มเหลวในที่สุด) แพทย์ก็จะแนะนำการรักษาดัง ต่อไปนี้ ซึ่งสำคัญพอ ๆ กันในการควบคุมเบาหวาน ทำอย่างใดอย่างหนึ่งไม่ได้ผลดี
           เปลี่ยนพฤติกรรมการกิน คือควบคุมอาหาร (อย่าเห็นแก่กิน)
           ออกกำลังกายสม่ำเสมอ
           การใช้ยา ยาเม็ดลดน้ำตาล หรือฉีดอินซูลิน
           รักษาโรคที่เกิดร่วม หรือโรคแทรกซ้อน


 เปลี่ยนพฤติกรรมการกิน คือควบคุมอาหาร (อย่าเห็นแก่กิน) 
           เปลี่ยนพฤติกรรมการกิน, ควบคุมอาหารโดย เฉพาะอาหารประเภทน้ำตาลและแป้งเนื่องจากน้ำ ตาลที่สังเคราะห์แล้ว เช่น น้ำตาลทราย หรือขนม ที่ผสม หรือเป็นผลิตภัณฑ์จากน้ำตาลทราย เช่น น้ำ หวาน, นม, กาแฟ, ใส่น้ำตาล, น้ำผึ้ง, น้ำอัดลม, ทองหยิบ, ทองหยอด, ฝอยทอง ขนมหวานอื่นๆ ที่กล่าวมาแล้วควรหลีกเลี่ยง หรือกินน้อยที่สุด เท่าที่จำเป็น (ไม่ให้ลงแดง) ส่วนอาหารประเภทแป้ง ธรรมชาติ เช่น ข้าวควรกินข้าวจ้าวมากกว่า ข้าวเหนียว ถ้าเป็นข้างกล้องจะดีมาก กินพออิ่ม แป้งอื่น ๆ ที่เหมือน ข้าว เช่น ขนมปังจืด, เส้นก๋วยเตี๋ยว, วุ้นเส้นอันนี้ ก็กินพออิ่ม ๆ อย่ากิน จุกจิก ถ้าน้ำหนักมากก็ควรลดลง (ไม่ให้งดเป็นมื้อ) เรื่องน้ำหนักเอาง่าย ๆ คือ น้ำหนัก มาตรฐาน ผู้ชายส่วนสูงเป็นเซนติเมตร – 100 ส่วนผู้หญิงลบด้วยร้อย แล้ว x 0.9 ถ้าน้ำหนักเกินก็ควรลด อาหาร, ถ้าขาด ก็เพิ่มปริมาณอาหาร ส่วนผลไม้ ประเภทเส้นใยสูง ไม่หวาน กินได้ไม่จำกัด เช่น ชมพู่, ฝรั่งดิบ, แอปเปิ้ล, เมล็ดพืชผัก, ถั่ว ผลไม้หวาน ๆ ให้กิน พออร่อยหอมปาก หอม คอ เช่น แตงโม, ส้ม เขียวหวาน, มะม่วงสุก, กล้วย ฯลฯ ผลไม้ที่ไม่ควร กินเลยคือ ลำไย, สับปะรด, ทุเรียน อาหารไขมัน ควรลดด้วย อาหารโปรตีนกินปกติยกเว้นมีปัญหา ไตวาย ร่วมด้วยให้ลดลง
           ถ้าขาดความหวานไม่ได้ เช่น นม, กาแฟและชา ให้ใช้สารให้ความหวาน หรือน้ำตาล เทียม มาใช้ แทน
           แอลกอฮอล์ (เหล้า เบียร์ อื่น ๆ) ทำให้การ ควบคุมเบาหวานลำบาก และอาจทำให้เกิด โรค แทรกซ้อน  เช่น น้ำตาลต่ำเกินไป และหลีกเลี่ยง ไม่ได้ให้ดื่มวิสกี้บาง ๆ ได้ 1 แก้ว แต่ต้องกินหลัง อาหาร


รูปภาพโรคติดต่อทางพันธุกรรม โรคติดต่อทางพันธุกรรม คือ โรคเบาหวาน โรคติดต่อทางพันธุกรรมออกกำลังกายสม่ำเสมอ รูปภาพโรคติดต่อทางพันธุกรรม โรคติดต่อทางพันธุกรรม คือ โรคเบาหวาน โรคติดต่อทางพันธุกรรม
          

           การออกกำลังกายจะช่วยทำให้การควบคุมน้ำตาลในเลือดได้ดีขึ้นนิ่มนวลขึ้นในผู้ป่วยที่น้ำตาลในเลือดสูง มาก อาหารไม่มากบางทีออกกำลังกายและควบคุมอาหาร สามารถทำให้น้ำตาลใกล้เคียงปกติ โดยไม่ต้อง กินยาก็ได้, การออกกำลังกาย ยังช่วยควบคุมน้ำหนัก (ในคนที่เกิน) ไม่ให้มากเกินไป เพราะน้ำหนักยังมีผล ทางอ้อม ทำให้น้ำตาลในเลือกสูงขึ้นได้  นอกจากนั้น ทำให้เกิดโรคแทรกซ้อน  เช่นเส้นเลือดหัวใจตีบ, เส้นเลือดสมองตีบ, ทำให้หัวใจแข็งแรง เมื่อเกิดปัญหาขึ้น ทำให้ผ่อนหนัก เป็นเบาได้
           การออกกำลังหายไม่ควรหักโหม  โดยเฉพาะ ผู้ที่ไม่เคยออก, ผู้สูงอายุ ผู้ที่น้ำหนักเกินมาก ๆ (อ้วน) ควรค่อย ๆ เริ่มตามศาสตร์ของการ ออกกำลังกายที่ดีที่สุด คือ การออกกำลัง กายที่ร่างกายใช้ออกซิเจน (aerobic exercise) เช่น เดินเร็วๆ, วิ่งเหยาะๆ, ปันจักรยานอยู่กับที่ หรือเคลื่อนที่ (ถ้าแน่ใจ ว่าจะไม่โดนชน) เต้นรำ, เต้น aerobic, ตีกอล์ฟ ประมาณ 4 วันต่อสัปดาห์ ครั้งละ ไม่ต่ำกว่าครึ่งชั่วโมง พอนาน ๆ เข้าถ้ายังมีแรง จะเอามาก กว่านี้ก็ได้ แต่ขอให้ค่อยเป็นค่อยไป (อย่าใจร้อน) การออกกำลังกายเป็นการทำให้ สุขภาพใจ และกายดีแข็งแรง ซึ่งท่านต้องลงทุนลงแรงเอง เพราะท่าน ไม่สามารถซื้อหาการมีสุขภาพที่ดีได้ ตามร้านหรือห้างสรรพสินค้ายิ่งถ้าออก เป็นประจำแล้วจะรู้สึกเสพติด พอ 4 – 5 ทุ่ม แล้วก็จะง่วงหลับสบาย ไม่ฟุ้งซ่าน เมื่อออกกำลังกายแล้วก็ต้องพักผ่อนให้พอด้วย  ถ้านอนได้วันละ 8 ชม. ล่ะก็สมบูรณ์แบบ (ถ้ากลางคืนนอนไม่พอต้องหาเวลาแอบงีบระหว่างวันเอง)


รูปภาพโรคติดต่อทางพันธุกรรม โรคติดต่อทางพันธุกรรม คือ โรคเบาหวาน โรคติดต่อทางพันธุกรรม การใช้ยา ยาเม็ดลดน้ำตาล หรือฉีดอินซูลิน รูปภาพโรคติดต่อทางพันธุกรรม โรคติดต่อทางพันธุกรรม คือ โรคเบาหวาน โรคติดต่อทางพันธุกรรม
          

           ก่อนจะพูดถึงการรักษาเบาหวานด้วย ยา ขอเน้นและขอย้ำอีกครั้งว่าการรักษาโรคเบาหวานจะได้ ผลดีนั้น ตัวผู้ป่วยรวมถึงผู้ใกล้ชิด เช่น ญาติ พี่ น้อง คนดูแล  จะต้องเข้าใจธรรมชาติของโรค และแนวทาง การรักษาพอสมควร เนื่องจากเป็นโรคเรื้อรังรักษาไม่หายขาด จำเป็นต้องรักษาต่อเนื่องเพื่อให้คุณภาพ ชีวิตที่ดี และยืนยาวเท่าคนปกติ และการรักษาต้องประกอบไปด้วย 3 อย่าง ซึ่งสำคัญพอ ๆ กันจะเอา ทางหนึ่งทางใด ทางเดียวหรือกึ่ง ๆ ครึ่งๆ กลางๆ ก็จะไม่ได้ผลดีนัก ออกกำลังกาย ควบคุมอาหาร และยา


รูปภาพโรคติดต่อทางพันธุกรรม โรคติดต่อทางพันธุกรรม คือ โรคเบาหวาน โรคติดต่อทางพันธุกรรม
รูปภาพโรคติดต่อทางพันธุกรรม โรคติดต่อทางพันธุกรรม คือ โรคเบาหวาน โรคติดต่อทางพันธุกรรม โรคแทรกซ้อนของเบาหวาน รูปภาพโรคติดต่อทางพันธุกรรม โรคติดต่อทางพันธุกรรม คือ โรคเบาหวาน โรคติดต่อทางพันธุกรรม      แบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่ม
     รูปภาพโรคติดต่อทางพันธุกรรม โรคติดต่อทางพันธุกรรม คือ โรคเบาหวาน โรคติดต่อทางพันธุกรรม โรคแทรกซ้อนชนิดเฉียบพลัน รูปภาพโรคติดต่อทางพันธุกรรม โรคติดต่อทางพันธุกรรม คือ โรคเบาหวาน โรคติดต่อทางพันธุกรรม ได้แก่

           ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ มักจะพบในรายที่รับยามากเกินไปหรือรับยาเท่าเดิม แต่ไม่ได้รับประทาน อาหารตามปกติ เช่น ขณะเป็นไข้ ท้องเสีย
           ภาวะระดับน้ำตาลในเลือดสูง จนมีการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ เช่น ความไม่รู้สึกตัวซึ่งมีทั้ง ชนิดที่มีกรด คีโตนคั่งค้างในกระแสโลหิตหรือไม่มีกรดคีโตนคั่งอยู่ก็ตาม
           ภาวะการติดเชื้อ

     รูปภาพโรคติดต่อทางพันธุกรรม โรคติดต่อทางพันธุกรรม คือ โรคเบาหวาน โรคติดต่อทางพันธุกรรม โรคแทรกซ้อนชนิดเรื้อรัง รูปภาพโรคติดต่อทางพันธุกรรม โรคติดต่อทางพันธุกรรม คือ โรคเบาหวาน โรคติดต่อทางพันธุกรรม แบ่งเป็น
          

           โรคแทรกซ้อนต่อหลอดเลือดขนาดเล็ก ได้แก่
              โรคแทรกซ้อนทางตา ทำให้มีการทำลายของหลอดเลือดในจอภาพ เกิดอาการตามัวจนถึง
ตาบอด ได้อย่าง กะทันหัน
              โรคแทรกซ้อนทางไต ทำให้มีการรั่วของไข่ขาวในปัสสาวะส่งผลต่อไตเสื่อมลงจนถึงขั้น ไต วายและเสียชีวิตได้ โรคแทรกซ้อนทางระบบประสาท ทำให้มีการเสื่อมทั้งระบบประสาททั่วไป และระบบ ประสาทอัตโนมัติก่อให้เกิดอาการต่างๆ มากมาย เช่น ชาตามปลายมือ ปลายเท้า หรือปวดแสบปวดร้อน กล้ามเนื้อขาลีบ กล้ามเนื้ออ่อนแรง กระเพาะปัสสาวะคราก สมรรถภาพทางเพศบกพร่อง สุขภาพเท้า บกพร่อง จนนำไปสู่การตัดอวัยวะส่วนนั้นๆ และพิการในที่สุด

          

           โรคแทรกซ้อนต่อหลอดเลือดขนาดใหญ่ ได้แก่
              หลอดเลือดสมองตีบตันหรือแตก ทำให้เกิดอาการอัมพฤกษ์ อัมพาต หรือเสียชีวิตได้
              หลอดเลือดหัวใจตีบตันเกิดอาการหัวใจขาดเลือด หรือกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน เช่น เจ็บ แน่นหน้าอกกะทันหัน หัวใจเต้นไม่สม่ำเสมอ และทวีความรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิต
              หลอดเลือดขาตีบตัน เกิดอาการปวดขาเวลาเดิน เพราะเลือดไปเลี้ยงขาไม่เพียงพอซึ่งเมื่อ ร่วมกับโรคแทรกซ้อนทางระบบประสาท จะทำให้เท้าเป็นแผลง่าย หายยากเป็นบ่อเกิดของการอักเสบ ติดเชื้อที่รุนแรง และมีเนื้อตายจนเป็นเหตุให้ต้องถูกตัดขา หรือสูญเสียอวัยวะ

 


แหล่งที่มา : thaigoodview.com

อัพเดทล่าสุด