โครงสร้างและหน้าที่ของไต ส่วนประกอบเเละหน้าที่ของไต หน้าที่ของไตเปรียบได้กับโครงสร้างใดในพารามีเซียม
URINARY SYSTEM
ประกอบด้วย อวัยวะที่ทำน้ำปัสสาวะ – เก็บชั่วคราว – ขับทิ้ง
ได้แก่
1.KIDNEYS – กรองน้ำ – ของเสียออกจากร่างกาย
2.URETERS– นำน้ำปัสสาวะจากไตไปยังกระเพาะปัสสาวะ
3.BLADDER – เก็บน้ำปัสสาวะชั่วคราว-->บีบตัวสู่ URETHRA
4.URETHRA – ผ่านทางน้ำปัสสาวะสู่ภายนอกร่างกาย
ไต.(KIDNEYS)
มีสองข้างเป็นลักษณะ bean shaped ตรงกลางเว้าเป็นโพรงประมาณครึ่งหนึ่งของไต เรียกว่า sinus of kidney ทางเข้าสู่โพรง เรียกว่า hilum รอยเว้านั้นไปทางกระดุกสันหลังตั้งอยู่ช่วงท้อง ไตข้างขวามีตับทับซ้อนจึงอยู่ต่ำกว่าทางด้านซ้าย และไตนั้นจะเคลื่อนไหวเล็กน้อยตามการหายใจเข้าและออก
ส่วนประกอบของไต
ปลาย ureter ที่พองออก เรียกว่า renal pelvis มีแขนงเล็กๆ เรียกว่า calyces เนื้อไตแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ
1.ส่วนนอก เรียกว่า cortex มีสีจางและเนื้อเป็นจุดๆ
2.ส่วนใน เรียกว่า medulla เป็นรูปกรวยเป็นสีคล้ำไตนั้นมีรูเปิดส่วนปลายทำให้น้ำปัสสาวะไหลผ่าน cortex ที่ยื่นแทรกระหว่าง renal pyramid เรียกว่า renal column และmedulla ที่ยื่นแทรก cortex เรียกว่า medullary rays
Nephrons
ทำหน้าที่กรองและสร้างน้ำปัสสาวะ
1.Renal corpuscles
-glomerulus
-Bowman’capsules
2.Renal tubules เริ่มจาก Bowman’capsules แบ่งเป็น 3 ส่วน คือ 2.1 proximal segment
- proximal convoluted tubules
- medullary segment of proximal tubule
2.2 Thin segment
2.3 distal segment
Ureters
มี 2 หลอด ซ้าย-ขวา นำปัสสาวะจากไตไปสู่กระเพาะปัสสาวะ ureters นี้จะยาวประมาณ 10-12 นิ้ว กว้าง 4-5 มม.ประกอบด้วย 3 ชั้น คือ
1.ชั้นนอก Fibrous coat
2.ชั้นกลาง Muscular coat
3.ชั้นใน Mucous coat
Bladder
ประกอบไปด้วยกล้ามเนื้อเป็นโพรง ตั้งอยู่ใน Pelvic Cavity กระเพาะปัสสาวะประกอบด้วย 4 ชั้น
1.Serous coat
2.Muscular coat
3.Submucus coat
4.Muscous coat
pressure น้ำปัสสาวะใน bladder จะปิดรูเปิด ureters ลิ้นที่ปิดช่องนี้เกิดจาก fold ของ Mucous membrane
Kidney function
1.ควบคุมสมดุลของน้ำความเข้มข้น
2.การเผาผลาญสารอาหาร
3.สารแปลกปลอม
4.สร้างฮอร์โมน
5.สร้างอาหาร การทำงานของไตเนื่องจากการทำงานของหน่วยย่อยของไต เรียกว่า nephron
แบ่งเป็น 2 ส่วน
1.Superficial nephron
2.Juxtamedullary nephron
กระบวนการเกิดปัสสาวะ
1.Ultrafiltration การกรอง
2.Tular secretion การขับออก
3.Tubular reabsorption การดูดกลับ
แรงที่ทำให้เกิดการกรองNet filtration pressure = แรงที่ทำให้เกิดกรอง - แรงต้านการกรอง
โครงสร้างของผนัง glomerulus
-ชั้นในติดกับเลือด (Endothelium)
-ชั้นกลาง (basement membrane)
-ชั้นนอกสุด (Epithelium)
องค์ประกอบของ filtrate กรองจาก glomerulus มีค่าเหมือน plasma ยกเว้นโปรตีน เม็ดเลือด
การวัดอัตราการกรอง ใช้วิธี clearance
1.ไม่เกาะติดโปรตีนในพลาสมา
2.ถูกกรองออกง่าย
3.ไม่ถูกดูดกลับ-ขับออกโดยท่อไต
4.ไม่สร้าง-ทำลายโดยท่อไต
5.ไม่เป็นพิษต่อร่างกาย
6.ไม่ทำให้อัตราการกรองเปลี่ยนแปลง
7.วิเคราะห์หาปริมาณในพลาสมา, ปัสสาวะได้ง่าย
การทำงานของท่อไต (tubular Function)
การดูดกลับโดยท่อไต
1.Active reabsorption
2.Gradient time limitation
3.Passive reabsorption
การขับทิ้ง (Tubular secretion)
1.Active secretion
2.Passive secretion
การทำให้ปัสสาวะเข้มข้นหรือเจือจาง
1.ลาดความเข้มข้นของสาร (osmolality gradient) การดูดกลับของน้ำเพื่อรักษาปริมาณทำให้ปัสสาวะเข้มข้น
2.ADH ช่วยให้การดึงน้ำกลับได้Countercurrent system
-ความแตกต่างของอุณหภูมิ-ความแตกต่าง ความเข้มข้นของของเหลวใน 2 ท่อ ตามขวางเรียก Singer effect
-การเพิ่มความเข้มข้นของสารภายในท่อข้างๆตามความยาว single effect
-ความแตกต่างของสารปลายท่อ-ต้นท่อ counter current multipier
ที่มา
https://jaruayporn.siam.edu/Anatomy/payabanweek12/sldurin.ppt
ที่มาภาพ https://www.healthandage.com/html/res/primer/pics/u2urinary.gif
แหล่งที่มา : school.obec.go.th