คำอธิบาย ::แบบทดสอบก่อนศึกษาเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก ( ตอนที่ 1/3 ) วิชาชีววิทยา 2 ว42242 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนดัดดรุณี จำนวน 20 ข้อ เวลา 20 นาที 1. ต้นข้าวเมื่อถูกน้ำท่วมจะพยายามชูลำต้นไว้เหนือน้ำ ความสูงของลำต้นที่เพิ่มขึ้นเกิด จากการแบ่งเซลของเนื้อเยื่อชนิดใด โพรเมอริสเต็ม( Promeristem) เนื้อเยื่อเจริญด้านข้าง( Lateral meristem) เนื้อเยื่อเจริญที่ปลายยอด( Apical meristem) เนื้อเยื่อเจริญระหว่างข้อ( Intercalary meristem)
2. เซลล์ที่ขูดออกหลังจากการควั่นลำต้นพืชและลอกเปลือกออกในตอนกิ่งไม้คือ Xylem Cortex Cambium Parenchyma
3. พืชพวกใดมีการเจริญเติบโตขั้นที่ 2 ( Secondary growth ) ข้าว อ้อย มะเขือ มะพร้าว
4. เซลล์ในข้อใดสามารถเปลี่ยนเป็นเนื้อเยื่อเจริญได้ 1.คอร์เทกซ์ 2.เพอริไซเคิล 3.เอนโดเดอร์มิส ข้อ 1, 2 ข้อ 1, 3 ข้อ 2, 3 ข้อ 1, 2,3
5. ข้อใดเจริญมาจากเซลล์เอพิเดอร์มิส ( Epidermis ) ของพืช 1.ขนราก 2.เซลล์คุม 3.ขนปกคลุมลำต้น 4.มือเกาะ ข้อ 1,2 ข้อ 1,2,3 ข้อ 1,2,4 ข้อ 2,3,4
6. บริเวณใดของปลายรากที่พบการแบ่งเซลล์แบบ ไมโทซิส ( Mitosis ) Root cap Zone of meristem Zone of elongation Zone of root hair
7. จากแผนภาพภาคตัดขวางของรากพืช รากแขนงเกิดจากเนื้อเยื่อหมายเลขใด และเซลล์ที่เป็นองค์ประกอบของเนื้อเยื่อหมายเลข 5 เมื่อเจริญเต็มที่แล้วมีลักษณะอย่างไร หมายเลข 4 มีผนังเซลล์หนา ไม่มีชีวิต หมายเลข 3 มีผนังเซลล์บาง รูปร่างค่อนข้างกลม หมายเลข 2 เป็นเซลล์รูปร่างยาว หัวท้ายแหลม มีนิวเคลียสใหญ่ หมายเลข 4 เป็นเซลล์รูปร่างยาว ผนังเซลล์บาง ผนังเซลล์ด้านหัวท้ายมีลักษณะ เป็นแผ่นตะแกรง
8. ในรากพืชส่วนใดที่ทำหน้าที่ในการดูดน้ำและแร่ธาตุ รากขน ปลายสุดของรากขน ทุกส่วนของรากที่อยู่ใต้ผิวดิน ก และ ข เป็นคำตอบที่ถูกต้อง
9. จากแผนภาพข้างล่างนี้ ภาพ A และ B เป็นภาพของ
A รากพืชใบเลี้ยงคู่ B รากพืชใบเลี้ยงเดี่ยว A รากพืชใบเลี้ยงเดี่ยว B รากพืชใบเลี้ยงคู่ A ลำต้นพืชใบเลี้ยงคู่ B ลำต้นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว A ลำต้นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว B ลำต้นพืชใบเลี้ยงคู่
10. เมื่อนำราก ลำต้นของทั้งพืชใบเลี้ยงคู่และใบเลี้ยงเดี่ยวมาตรวจดูโครงสร้างต่างๆด้วยกล้องจุลทรรศน์ ปรากฏว่า เห็นโครงสร้างของ เพอริไซเคิล( Pericycle) เรียงเป็นวงอย่างเด่นชัด แสดงว่าโครงสร้างนี้เป็นส่วนใดของพืช รากของพืชใบเลี้ยงคู่ ลำต้นของพืชใบเลี้ยงคู่ รากของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว ลำต้นของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว
11. ข้อใดเป็นรากสะสมอาหาร ( Storage root ) แง่งขิง แง่งข่า แง่งขมิ้นขาว แห้ว หัวมันฝรั่ง หัวเผือก มันสำปะหลัง มันเทศ
12. จากแผนภาพข้างล่าง A และ B เป็นภาพของ
A รากพืชใบเลี้ยงคู่ B รากพืชใบเลี้ยงเดี่ยว A รากพืชใบเลี้ยงเดี่ยว B รากพืชใบเลี้ยงคู่ A ลำต้นพืชใบเลี้ยงคู่ B ลำต้นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว A ลำต้นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว B ลำต้นพืชใบเลี้ยงคู่
13. จากแผนภาพข้างล่าง การที่จะดูว่าเป็นรากหรือลำต้นตัดตามขวางดูได้จาก
ชั้นของคอร์เทกซ์ในรากแคบ คอร์เทกซ์ในลำต้นกว้าง ชั้นของคอร์เทกซ์ในรากกว้าง คอร์เทกซ์ในลำต้นแคบ ชั้นของมัดท่อน้ำท่ออาหารกระจัดกระจายในรากและเป็นระเบียบในลำต้น ชั้นของมัดท่อน้ำท่ออาหารกระจัดกระจายในลำต้นและเป็นระเบียบในราก
14. ถ้าตัดลำต้นไม้ยืนต้นตามขวางซึ่งมีอายุ 1 ปี พบว่ามีเนื้อเยื่อชนิดต่างๆ เรียงลำดับจากชั้นในสุดออกมาด้านนอกดังนี้ ไซเลม โฟลเอ็ม ไซเลม โฟลเอ็ม แคมเบียม ไซเลม ไซเลม แคมเบียม โฟลเอ็ม ไซเลม โฟลเอ็ม แคมเบียม
15. การที่ต้นมะม่วงและต้นหมากที่มีอายุเท่ากัน ปลูกอยู่บริเวณใกล้ ๆกัน ทำไมต้นมะม่วงจึงมีลำต้นใหญ่กว่าต้นหมากเพราะเหตุใด ต้นมะม่วงมีแคมเบียม ต้นหมากไม่มี จำนวนกลุ่มท่อลำเลียงของต้นมะม่วงมีมากกว่าต้นหมาก เซลล์ของต้นมะม่วงแบ่งตัวได้รวดเร็วกว่าเซลล์ของต้นหมาก ต้นมะม่วงมีการเรียงตัวของกลุ่มท่อลำเลียงเป็นระเบียบมากกว่าต้นหมาก
16. เมื่อดูชิ้นส่วนตัดตามขวางของพืชด้วยกล้องจุลทรรศน์และพบว่าใจกลางชิ้นส่วนนั้นเป็นเนื้อเยื่อไซเลม แสดงว่าชิ้นส่วนนั้นเป็นส่วนใดของพืช รากของพืชใบเลี้ยงคู่ ลำต้นของพืชใบเลี้ยงคู่ รากของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว ลำต้นของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว
17. ถ้าพบวงปีของลำต้นพืชมีเซลล์ไซเลมใหญ่ มีแถบกว้าง และสีจาง เป็นเพราะเหตุใด เนื้อเยื่อเจริญในฤดูน้ำน้อย วาสคิวลาร์แคมเบียมมีขนาดใหญ่ วาสคิวลาร์แคมเบียมมีผนังเซลล์หนา วาสคิวลาร์แคมเบียมเจริญในฤดูน้ำมาก
18. เซลล์ที่ขูดออกหลังการควั่นและลอกเปลือกไม้ เพื่อตอนกิ่งไม้ คือข้อใด Xylem Phloem Cambium Parenchyma
19. ข้อใดเป็นลำต้นใต้ดิน ( Rhyzome ) ขิง ข่า ขมิ้น เผือก มันฝรั่ง มันเทศ กระชาย ขมิ้นขาว แครอท มันเทศ หัวผักกาดขาว แห้ว
20. ต้นมะม่วงมีอายุ 20 ปี นักเรียนคิดว่ามีส่วนประกอบของเนื้อเยื่อใดน้อยที่สุด เอพิเดอร์มิส ไซเลมระยะแรก ไซเลมระยะที่สอง วาสคิวลาร์แคมเบียม |