Let's eat Hed Thop Curry together


1,137 ผู้ชม


มากินแกงเห็ดถอบ หรือ เห็ดเผาะ กันเถอะครับ   

Let Let’s eat Hed Thop together (มาทานเห็ดถอบด้วยกัน) Let

ใครที่เป็นคนท้องถิ่นหรือคนพื้นเมือง เช่นคนในจังหวัดเชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ลำพูน พะเยา แพร่ น่าน หรือ เชียงราย 
ส่วนมากแล้วจะรู้จักเห็ดชนิดหนึ่ง ที่ขึ้นตามธรรมชาติ ตั้งแต่ต้นเดือน พฤษภาคม – มิถุนายน ของทุกปี
นั่นก็คือ เห็ดถอบ หรือ เห็ดเผาะ (Barometer Earthstars) นั่นเอง

ที่มาของข้อมูล
https://www.nan2day.com/forum/index.php?topic=5662.0


Let
(ที่มาของรูป :
https://www.biogang.net/upload_img/biodiversity/biodiversity-107-2.jpg)


Let ประวัติและความเป็นมา Let
เห็ด "ถอบ" หรือ “เห็ดเผาะ” (Barometer Earthstars) หรือเห็ดเหียงหรือเห็ดหนัง บางคนก็เรียกว่า เห็ดดอกดิน 
แต่ชื่อที่เรียกกันติดปากมาที่สุดคือ “เห็ดถอบ”อาหารสุดแสนจะมหัศจรรย์ทางธรรมชาติชนิดนี้เกิดขึ้นเองตามป่าสนและป่าเต็งรัง 
หรือตามบริเวณที่เป็นดินร่วนปนทราย ตามสันเขาหรือเนินเขาต่างๆ ในจังหวัดดังกล่าวข้างต้น
เห็ดถอบ หรือ เห็ดเผาะ จะโตได้ก็ต้องมีความชื้นเหมาะพอดิบพอดีด้วย เห็ดเผาะจึงผลิดอกเบ่งบานออกมาให้เราได้กินกัน 
ปัจจุบันนี้ยังไม่มีใครวิจัยหรือเพาะพันธ์เห็ดชนิดนี้ได้สำเร็จเลย 
ลักษณะเด่นของเห็ดพันธุ์นี้ก็คือ มีรูปร่างเป็นก้อนค่อนข้างกลม สีสันไม่น่าดูอย่างที่ว่าไปแล้วมีขนาดประมาณ 1.5 – 3.5 ซม. 
เมื่อดอกเห็ดบานพร้อมกับเปลือกนอกแตกออกเป็นรูปดาว มีแฉกราวๆ 6-8 แฉก 
เห็นรูปลักษณ์อย่างนี้เถอะ ผ่าดอกเห็ดออกแล้วจะเห็นเนื้อในเป็นสีขาวผุดผ่อง เนื้อนุ่มน่ากินเป็นที่สุด

Let

(ที่มาของรูป: https://www.9leang.com/wp-content/uploads/2010/05/D9464561-2.jpg)


Let วิธีเก็บเห็ดและวิธีทำอาหารด้วยเห็ดถอบ ศึกษาได้จากเว็บต่อไปนี้ครับ Let
วิธีเก็บเห็ดและวิธีทำอาหารด้วยเห็ดถอบ ศึกษาได้จากเว็บต่อไปนี้ครับ 





Let  สาระสำคัญ Let
เนื่องด้วยเห็ดถอบเป็นอาหารที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติและจำกัดฤดูกาล 
สามารถนำมาประยุกต์ในการสอนวิชาภาษาอังกฤษ 
ในส่วนของคำศัพท์เกี่ยวกับการทำอาหารและขั้นตอนการทำปรุงอาหาร ที่ถูกต้อง 
ซึ่งนักเรียนสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันและประกอบอาชีพได้

Letผลการเรียนรู้ Let
1.นักเรียนสามารถอ่านและเขียนคำศัพท์เกี่ยวกับเห็ดถอบและเครื่องปรุงได้
2. นักเรียนสามารถพูดแนะนำขั้นตอนการทำอาหารด้วยประโยคง่ายๆ ได้
3. นักเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในการประกอบอาชีพและเผยแพร่ต่อชาวโลกได้


Salty Boiled Hed Thop with Nam Prik Kha
(ต้มเค็มเห็ดถอบ กับ น้ำพริกข่า)

Ingredient (เครื่องปรุง)
1. Barometer Earthstars or Thai word “Hed Thop” (เห็ดถอบหรือภาษาไทยเรียกว่า “เห็ดถอบ”)
2. Salt (เกลือ)

How to cook (วิธีทำ)
1. Wash Barometer Earthstars (ล้างเห็ดให้สะอาด) 
2. Boil Barometer Earthstar in hot water (นำเห็ดถอบลงต้ม)
3. Add salt when it boiled (ใส่เกลือเมื่อน้ำเดือดได้ที่)
4. Taste and add more salt if it's not salted enough (ชิม และเติมเกลือลงไป ถ้ายังไม่เค็ม)
5. put it down when it cooked (ยกลงจากเตาเมื่อเห็ดสุกแล้ว)

More Details:
https://www.chiangmai-thailand.net/lanna_food/kang-hed-thop/kang-hed-thop.html


Letกิจกรรมเสนอแนะ Let
เห็ดถอบ หรือ เห็ดเผาะ นักเรียนสามารถนำไปประกอบเป็นอาหารหลายอย่างหลายๆ ชนิด
เช่น แกงส้มเห็ดถอบ ดังรายละเอียดและวิธีทำต่อไปนี้

แก๋งส้มเห็ดถอบ (Sour Hed Thop Curry)
Indredient (เครื่องปรุง)
1. Barometer Earthstars (เห็ดถอบ)
2. guinea-pepper (พริกขี้หนูสวน หรือ พริกลาว)
3. pickled fish (ปลาร้า)
4. shrimp paste (กะปิ)
5. garlic (กระเทียม)
6. young tamarind leaves (ใบมะขามอ่อน) หรือ (ใบบะเหม้าตาควาย)

Spices (เครื่องแกง)
1. guinea-pepper (พริกขี้หนู)
2. 10 petals of garlic (กระเทียม ๑๐ กลีบ)
3. 1 teaspoon of shrimp paste (กะปิ ๑ ช้อนชา)
4. 1 tablespoon of pickled fish (ปลาร้า ๑ ช้อนโต๊ะ)
5. Pound them roughly (โขกหรือตำเครื่องแกงพอหยาบๆ)

Let

(ที่มาของรูปมะเม่าตาควาย https://www.bloggang.com/data/n/naiyingka/picture/1268348014.jpg)

How to cook (วิธีทำ)
1. Boil water (ต้มน้ำให้เดือด)
2. Add spices (ใส่เครื่องแกง)
3. Add barometer earthstars when boiled and simmer it to be soft (พอน้ำเดือดใส่เห็ดถอบ เคี่ยวต่อให้เห็ดนิ่ม)
4. Add young tamarind leaves or others (ใส่ใบมะขามอ่อน หรือผักอื่นๆที่เลือกไว้)
5. Stir back and forth and put it down when vegetable changed to be yellow (คนไปมาพอผักเปลี่ยนสี แล้วยกลง)

Let ที่มาของข้อมูล Let
https://www.chiangmai-thailand.net/lanna_food/kang-hed-thop/kang-hed-thop.html


Let  บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ Let
1.การงานอาชีพและเทคโนโลยี
2.สุขศึกษาและพลศึกษา
3.สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
4.วิทยาศาสตร์

Let  แหล่งที่มาของข้อมูล Let
https://www.chiangmai-thailand.net/lanna_food/kang-hed-thop/kang-hed-thop.html
https://culturelib.in.th/articles/745
https://kanchanapisek.or.th/kp8/cem/cem711a.html
https://www.nan2day.com/forum/index.php?topic=5662.0
https://www.nan2day.com/forum/index.php?topic=6297.0
https://www.nan2day.com/forum/index.php?topic=2698.0
https://www.oknation.net/blog/ReadReadRead/2010/06/25/entry-1


Let แหล่งข้อมูลวีดีโอ Let
https://www.youtube.com/watch?v=bJs7eRw9OAU
https://www.youtube.com/watch?v=dBg5C5UACOs
https://www.youtube.com/watch?v=OVEGnga_Hk8
https://www.youtube.com/watch?v=3wqkQ3DbzQY
https://www.youtube.com/watch?v=Et_OYWLHAPw

Let แหล่งข้อมูลรูปภาพ Let
https://www.biogang.net/upload_img/biodiversity/biodiversity-107-2.jpg
https://www.9leang.com/wp-content/uploads/2010/05/D9464561-2.jpg
https://www.oknation.net/blog/home/blog_data/132/45132/images/fungai/image024.jpg

ที่มา : https://www.sahavicha.com/?name=knowledge&file=readknowledge&id=3705

อัพเดทล่าสุด