แนวคิดการทำกิจกรรมการแก้ปัญหาโจทย์ Monohybrid cross


3,477 ผู้ชม


เพื่อให้นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่กำลังเรียน ได้ใช้เป็นแนวทางการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้ที่สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้   

แนวคิดการทำกิจกรรมที่ 16.1 การแก้โจทย์ปัญหาเพื่อให้นักเรียนสามารถ

จุดประสงค์ของกิจกรรม

1. หารูปแบบเซลล์สืบพันธุ์ จีโนโนไทป์ และฟีโนไทป์

2. หาอัตราส่วนของจีโนไทป์และฟีโนไทป์ของรุ่น F1 และ F2 จากสถานการณ์ที่กำหนดให้

ในหัวข้อนี้มีแนวในการทำกิจกรรมดังนี้

1. จงเติมจีโนไทป์ของเซลล์ร่างกาย สภาพของจีโนไทป์ แบบของยีนในเซลล์สืบพันธ์ุและโอกาสของการเกิดเซลล์สืบพันธ์ุแต่ละแบบ ลงในตารางต่อไปนี้ให้สมบูรณ์

2. ถั่วลันเตาลักษณะเมล็ดสีเหลืองเป็นลักษณะเด่นต่อลักษณะเมล็ดสีเขียว ในการผสมตัวเองของต้นที่มีลักษณะเมล็ดสีเหลืองที่เป็นเฮเทอโรไซกัสทั้งคู่ จงหาร้อยละของลูกที่ให้เมล็ดสีเขียว

แนวคิด ลูกที่ให้เมล็ดสีเขียว คิดเป็นร้อยละ 25 ดังนี้
แทนยีนควบคุมเมล็ดสีเหลือง และ แทนยีนควบคุมเมล็ดสีเขียว
รุ่น 
P                      เมล็ดสีเหลือง X เมล็ดสีเหลือง 
                                    
Yy        x         Yy
                      

เซลล์สืบพันธุ์           1/2 Y 1/2 y         1/2 Y 1/2 y
รุ่น F1  จีโนไทป์      1/4 YY 1/4 Yy 1/4 Yy 1/4 yy  
ฟีโนไปท์         เมล็ดสีเหลืองร้อยละ 75 เมล็ดสีเขียวร้อยละ 25

3.  ในแมลงหวี่กำหนดให้ Lเป็นยีนควบคุมลักษณะปีกยาวและ l เป็นยีนควบคุมลักษณะปีกสั้น เมื่อผสมแมลงหวี่ปีกยาวและปีกสั้นจะได้ลูกที่มีปีกยาวและลูกที่มีปีกสั้น ในอัตราส่วน 1 : 1 จงหาจีโนไทป์ของพ่อแม่และลูก   แนวคิด เมื่อได้ลูกลักษณะปีกยาวต่อปีกสั้น อัตราส่วน 1:1 ดังนั้นแมลงหวี่ปีกยาวในรุ่น จะเป็นLเมื่อผสมกับแมลงหวี่ปีกสั้น จะเป็นดังนี้

รุ่น P                                  ปีกยาว    X    ปีกสั้น
                                             
L      x        ll 1/2 L      1/2 l      1/2 l     1/2 lF1                          1/4 Ll   1/4 Ll     :  1/4 ll       1/4 ll = ratio 1:1 Lและ ll จีโนไทป์ของลูกมีจีโนไทป์เป็น Lและ ll

เซลล์สืบพันธ์ุ                    

รุ่น

ฟีโนไปท์                           ปีกยาว            :          ปีกสั้น     =  ratio 1:1

ตอบจีโนไทป์ของพ่อแม่เป็น

4. เมื่อนำกระต่ายขนสีดำที่เป็นฮอมอไซกัสผสมกับกระต่ายขนสีน้ำตาลปรากฏว่าลูกที่เกิดมีขนสีดำทั้งหมด (สมมติให้ B และ b แทนแอลลีลคู่หนึ่งที่ควบคุมลักษณะสีขน) 
4.1 
ข้อมูลนี้บอกอะไรแก่เราบ้าง

4.2 เมื่อนำกระต่ายขนสีดำที่เป็นฮอมอไซกัสผสมกับกระต่ายขนสีน้ำตาล ปรากฎว่าลูกที่เกิดมี

รุ่น p               ขนสีดำฮอมอไซกัส   X   ขนสีน้ำตาล

จีโนไทป์     

เซลล์สืบพันธุ์                                

รุ่น F1                                                                                                    Bb (ขนสีดำ)

4.3 ถ้านำรุ่น Fผสมตัวเอง รุ่น Fจะมีจีโนไทป์ได้กี่แบบ อะไรบ้าง และมีอัตราส่วน

เท่าใด

รุ่น P (F

Gamate                               1/2

                                      ขนสีดำแท้ ขนสีดำสีทาง ขนสีน้ำตาล  = Phenotype

จีโนไทป์ของรุ่น Fมีสภาพเป็นฮอมอไซกัสหรือเฮเทอโรไซกัส 
ตอบ  เฮเทอโรไซกัส ดังแผนภาพ
                            BB       x        bb B                      b                                                                                                      
ตอบ ลูก F2     มีจีโนไทป์ แบบ คือ BB  Bb และ bb ในอัตราส่วน 1:2:1 ดังนี้ x F1)                                  Bb       x       BbB  1/2 b   1/2B  1/2b                                      
       รุ่นF2                         
1/4 BB  1/4 Bb  1/4 Bb  1/4 bb = Genotype

4.4

ส่วนเท่าใด

ตอบ  

ถ้านำรุ่น Fผสมกับรุ่นพ่อแม่ที่มีขนสีน้ำตาล ลูกที่ได้จะมีขนสีอะไรบ้าง ในอัตรา ลูกจะมีขนสีดำและขนสีน้ำตาลในอัตราส่วน 1:1 ดังแผนภาพ

ตอบข้อมูลนี้บอกให้ทราบว่าขนสีดำเป็นลักษณะเด่น ขนสีน้ำตาลเป็นลักษณะด้อย  เพราะลูกที่เกิดมามีขนสีดำ

             ที่มา : https://www.sahavicha.com/?name=knowledge&file=readknowledge&id=657

อัพเดทล่าสุด