ความยืดหยุ่น


957 ผู้ชม


ความยืดหยุ่น เป็นคุณสมบัติอันสำคัญยิ่งของวัสดุ ในห้องทดลอง ท่านจะสามารถเข้าใจ ความหมายของ โมดูลัสความยืดหยุ่นแบบต่างๆ ในลักษณะการทดลองเสมือนจริง   

ความยืดหยุ่น

ภาพประจำสัปดาห์   

 

ความยืดหยุ่น

แบบฝึกหัดประจำสัปดาห์    

ตึกอัมไพร์เสตท  ความสูง  1250  ฟุต สั่นตามจังหวะของลมที่พัด  ภาพที่วาดอาจจะดูเกินจริงไปหน่อย  แต่ระยะกระจัดของการแกว่งมีระยะหลายเมตรอยู่  ตึกเวิล์ดเทรด ตึกแฝด  ก็สั่นมีระยะกระจัดที่ยอดประมาณ 6  ถึง  7 ฟุต   ลิฟท์ที่วิ่งไปถึงความสูงระดับนั้นต้องลดระดับความเร็วลง

 
 

การทดลองเสมือนจริง 

การทดลองเสมือนจริงเรื่องการหาค่าคงที่ของสปริง

ในการทดลองนี้สมมติให้  แรง  F  เท่ากับ มวล  m  ที่ใส่ลงไป

ใบบันทึกผลการทดลอง

ใส่มวลลงไป  5  ค่า  หาค่า l  บันทึกค่า

l  = ระยะยืด

วาดกราฟระหว่าง  F   กับ  l   ให้ แรง  F  เป็นแกน  y   และ  l  เป็นแกน x

จงคำนวณหาค่าคงที่ของสปริง (k)  ในการทดลองนี้

กดที่รูปภาพหรือที่นี่เพื่อเข้าสู่การทดลอง



l
   
   
   
   
   

การทดลองเรื่อง Young's Modulus   คลิกค่ะ

การทดลองเรื่อง Shear's Modulus  คลิกค่ะ

การทดลองเรื่อง Bulk's Modulus  คลิกค่ะ

      ความยืดหยุ่น เป็นคุณสมบัติอันสำคัญยิ่งของวัสดุ  ในห้องทดลอง ท่านจะสามารถเข้าใจ ความหมายของ โมดูลัสความยืดหยุ่นแบบต่างๆ  ในลักษณะการทดลองเสมือนจริง

แผ่นดินไหว

    26 ธันวาคม 2547 คลื่นยักษ์สึนามิถล่ม 6 จังหวัดภาคใต้ของไทยและหลายประเทศ ก็เป็นเพราะผลแผ่นดินไหว แผ่นดินไหว ปรากฏการณ์ธรรมชาติที่คนทั่วโลกหวาดผวา ไม่มีใครรู้ว่าเมื่อเกิดขึ้น แล้วจะสร้างความเสียหายมากขนาดไหน ที่สำคัญแผ่นดินไหว เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติ อย่างเดียว ที่ยังไม่มีเทคโนโลยี ทำนายได้ล่วงหน้า แผ่นดินไหว เกิดจากแรงเครียดภายในโลก เกิดจากอุณหภูมิที่แตกต่างกันอย่างมาก ระหว่างเปลือกโลกกับหินหลอมเหลวในโลก เมื่อแรงเครียดกระทำต่อหินแข็งภายในโลกจะทำให้หินแตกเป็นแนวเรียกว่า แนวรอยเลื่อนเมื่อรอยเลื่อนขยับตัว ก็จะเกิดปล่อยพลังงานออกมาในรูปของการสั่นไหว นี่คือที่มาของทฤษฎีสาเหตุของแผ่นดินไหว อ่านต่อครับ 

ความรู้เบื้องต้นวิชาแผ่นดินไหว
บทที่ 1 วิชาแผ่นดินไหวคืออะไร
บทที่ 2 คลื่นแผ่นดินไหว
บทที่ 3 โลก
บทที่ 4 อะไรทำให้เกิดแผ่นดินไหว
บทที่ 5 ขนาดมาตราริคเตอร์

บทที่ 6 ริคเตอร์

บทที่ 7 ศัพท์แผ่นดินไหว หน้าที่ 1

บทที่ 8 ศัพท์แผ่นดินไหว หน้าที่ 2

 

  

 

มวลขนาดใหญ่อยู่บนตึกชั้นบน  ไว้สำหรับหน่วงการสั่นของตึกสูง

นักดนตรี  ใช้ความยืดหยุ่นของแก้วสร้างเสียงดนตรีขึ้นจากขอบแก้ว

ภาพการแตกของกระดูก  a)   แรงที่ทำให้กระดูกเกิดการบิด   b)  แรงที่เกิดจากการอัดกระดูก  c)  แรงกระทำทางด้านข้าง   ทำให้กระดูกด้านใกล้เป็นแรงอัด   ด้านไกลเป็นแรงดึง   จึงเกิดการฉีกหักได้  ถ้ากระดูกมีความยืดหยุ่นพอ  อาจจะไม่มีการแตกหักได้

รูปของกบประเภทหนึ่ง  ที่ผิวหนังมีความยืดหยุ่นสูง  สามารถขยายตัวออกได้เหมือนยาง ในรูปภาพมีขนาดเพิ่มขึ้นกว่า  8 เท่า

ผิวหนังของคนมีลักษณะยืดหยุ่นเหมือนยาง  เมื่อเข้าสู่วัยชรา  ความยืดหยุ่นจะลดน้อยลง  เกิดเป็นรอยเหี่ยวย่นแทน

โทมัส ยัง  (1773-1829)   นักฟิสิกส์  เป็นผู้เสนอแนวคิดเรื่องความยืดหยุ่น


ภาพเอกซ์เรย์ของแผ่นเหล็กที่ใช้สำหรับยืดกระดูกที่แตกหัก    หนึ่งเดือนให้หลัง  ภาพที่สอง  แผ่นโลหะเกิดการล้าตัว  และหัก   การแตกหักเกิดขึ้นบริเวณรูเจาะ  สังเกตการแตกหักในรูปที่สาม


หนังสืออิเล็กทรอนิกส์

สภาพยืดหยุ่น

จาก  ฟิสิกส์ 1  ของ ผศ. กีรติ  ลีวัจนกุล และ อ.วลัยรัตน์ ลีวัจนกุล

สารบัญกระดานฟิสิกส์ราชมงคล 

ตัวเครื่องของเครื่องบินลำหนึ่งที่ขึ้นบินเมื่อปี  1988  ทำจากโลหะ  ฉีกออกอย่างไม่มีชิ้นดี  เนื่องจากการล้าของโลหะ  (Fatigue)  ให้นักศึกษาบรรยายภาพนี้รวมทั้งความหมายของคำว่า ความยืดหยุ่น   ความล้า โมดูลัสเฉือน  โมดูลัสของยัง  จุดคราก(yield point)  และจุดแตกหัก  ลงใน

ที่มา : https://www.sahavicha.com/?name=knowledge&file=readknowledge&id=813

อัพเดทล่าสุด