เมื่อคุณปรับสายตาในที่มืดสนิทประมาณ 15 นาที และให้เพื่อนของคุณเคี้ยวลูกกวาดที่ทำจากน้ำตาล และมีลักษณะเป็นเม็ดกลม มีรูตรงกลางดังรูป คุณจะเห็นแสงสีน้ำเงินในปากของเพื่อนคุณขณะที่เคี้ยวกร้วม ๆ หรือคุณจะใช้คีมหนีบให้แตก ก็จะเห็นแสงเช่นเดียวกัน แสงนี้มาจากไหน เ
ประกายไฟฟ้า เมื่อคุณปรับสายตาในที่มืดสนิทประมาณ 15 นาที และให้เพื่อนของคุณเคี้ยวลูกกวาดที่ทำจากน้ำตาล และมีลักษณะเป็นเม็ดกลม มีรูตรงกลางดังรูป คุณจะเห็นแสงสีน้ำเงินในปากของเพื่อนคุณขณะที่เคี้ยวกร้วม ๆ หรือคุณจะใช้คีมหนีบให้แตก ก็จะเห็นแสงเช่นเดียวกัน แสงนี้มาจากไหน เกิดขึ้นได้อย่างไร ! แสงนี้เกิดจาก ประจุไฟฟ้า เมื่อผลึกน้ำตาลในลูกกวาดแตกออกเนื่องจากการเคี้ยว หรือถูกแรงกด ผลึกจะแตกออกเป็นชิ้นย่อยๆ หลายๆ ชิ้น อ่านต่อครับ | ||||
| ||||
| ประจุไฟฟ้าคู่หนึ่งมีแรงกระทำระหว่างกัน 1 นิวตัน เมื่อวางห่างกัน 10 ซม. ถ้าวางห่างกัน 5 ซม. จะมีแรงกระทำ
| |||
| คำศัพท์ประจำสัปดาห์ นาฬิกาดิจิตอลมีหลักการทำงานอย่างไร เมื่อผลึกควอทซ์เล็ก ๆ ภายในนาฬิกาดิจิตอล ได้รับกระแสไฟฟ้าจากแบตเตอรี่มันจะสั่นสะเทือนเป็นจังหวะสม่ำเสมอ ชิพซิลิกอนเปลี่ยนแรงสั่นสะเทือนให้เป็นจังหวะการเต้นในระดับปกติ ซึ่งจังหวะการเต้นนี้แสดงเป็นตัวเลขให้เห็นบนหน้าจอ LCD (liquid crystal display) ของหน้าปัทม์นาฬิกา | |||
เมื่อถูแท่งโพลีทีน (หรือแท่งอีโบไนต์) กับผ้าขนสัตว์ อิเล็กตรอนในส่วนนอกจะกระโดดออกจากผ้าขนสัตว์เข้ามาในแท่งโพลีทีน หมายความว่า โพลีทีน มีอิเล็กตรอนเกิน (จึงมีประจุลบ) และผ้าขนสัตว์มีอิเล็กตรอนน้อยกว่าโปรตอน (มีประจุบวก) จงสังเกตว่ามีเพียงอิเล็กตรอนลบเท่านั้นที่สามารถเคลื่อนที่ ส่วนโปรตอนบวกอยู่กับที่ การถูไม่ได้ทำให้เกิดประจุไฟฟ้า แต่เป็นการแยกประจุไฟฟ้า เมื่อถูแท่งแก้วเซลลูโลสอะซีเตท(หรือแก้ว) จะมีประจุบวก เครื่องกำเนิดไฟฟ้าสถิต (Electrostatic generator) เครื่องจักรซึ่งสร้างประจุไฟฟ้าอย่างต่อเนื่อง
เครื่องกำเนิดไฟฟ้าสถิตจะสร้างประจุอันทรงพลังขึ้นในวัตถุ เราใช้เครื่องนี้ในงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ ในงานอุตสาหกรรม เครื่องจักรวิมส์เฮิรสต์ (Wimshurst machine) คือเครื่องกำเนิดไฟฟ้าขนาดเล็กที่มีจานหมุนสองอัน ซึ่งสร้างประจุไฟฟ้า แล้วประจุจะถูกรวบรวมไว้โดยหวีโลหะ เครื่องกำเนิดไฟฟ้าแวนเดอกราฟฟ์ ( Van de Graaff generator) มีสายพานเลื่อนอันหนึ่งซึ่งจะได้รับประจุเมื่อมันผ่านไปเหนือแถวของโลหะ ปลายแหลมสายพานจะนำประจุไปยังโดมโลหะกลวงที่ยอดของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า ถ้าเราวางโดมโลหะอีกอันหนึ่งไว้ข้างๆ เครื่องกำเนิดไฟฟ้า จะทำให้เกิดประกายไฟฟ้าสถิตขนาดใหญ่ข้ามระหว่างโดมสองอันนั้น การทดลองกฎของคูลอมบ์ การทดลองเรื่องกฎของคูลอมบ์ คลิกครับ การเบี่ยงเบนของประจุไฟฟ้าในสนามไฟฟ้า จะมีแรงกระทำกับประจุไฟฟ้าที่วางอยู่ในสนามไฟฟ้า ขนาดของแรง F = qE คุณจะได้เห็นผลของสนามไฟฟ้า (เกิดขึ้นระหว่างแผ่นประจุไฟฟ้า สีน้ำตาล) บนลำของอิเล็กตรอน (เส้นสีเขียว) โดยการเลื่อนตัวสไลด์ (สีแดง) คุณสามารถเปลี่ยนขนาดของสนามไฟฟ้าและสังเกตผลการเบี่ยงเบนของลำอิเล็กตรอนว่าจะวิ่งไปในทิศทางใดได้ คำถาม 1. เมื่อเลื่อนตัวสไลด์ไปทาง + ลำอิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่ในลักษณะใด ทำไมถึงเป็นเช่นนั้น ? 2. สนามไฟฟ้าที่เกิดขึ้นในข้อ 1 มีทิศทางภายในแผ่นประจุอย่างไร ? กดที่นี่หรือที่รูปภาพเพื่อเข้าสู่การทดลอง |
ยินดีต้อนรับสู่เนื้อหาทางฟิสิกส์.....เรื่องไฟฟ้าสถิตย์
- การเกิดประจุ ศึกษาการเกิดประจุไฟฟ้า
- ตัวนำและฉนวน ศึกษาคุณสมบัติของตัวนำไฟฟ้า
- แรงระหว่างประจุ ศึกษาแรงระหว่างประจุไฟฟ้า
- สนามไฟฟ้าระหว่างจุดประจุ 2 ประจุ
- สนามไฟฟ้าระหว่างแผ่นโลหะขนาน
ขอบคูณทุกท่านที่กรุณาให้ความสนใจในวิชาฟิสิกส์ ด้วยความปราถนาดี จากประจียด ปฐมภาค
เป็น File Shockwave คลิกครับ
ไฟฟ้า ( Electricity) จำนวน 24 แผ่น คลิกค่ะ | |
ประจุไฟฟ้าและกฏของคูลอมบ์ การค้นพบของชาวกรีก เส้นลวดที่กระแสไฟฟ้าไหลผ่าน ตัวนำและฉนวน กฎของคูลอมบ์ หน่วยของประจุ ประจุไฟฟ้ามีลักษณะเป็นก้่อน ประจุไฟฟ้าเป็นปริมาณอนุรักษ์ ของ อ. นพฤทธิ์ จินันทุยา จำนวน 24 แผ่น คลิกค่ะ |
จอทีวี เครื่องจักรไฟฟ้าที่มองเห็นได้
จุดแสง | การสแกน | ลำอิเล็กตรอน | การบังคับลำอิเล็กตรอน |
ขดลวดที่สร้างสนามแม่เหล็ก | โทรทัศน์สี | การผสมสี |
ประวัติของโทรทัศน์
การทดลองเรื่องสมบัติของประจุไฟฟ้า
ใบบันทึกผลการทดลอง
จงตอบคำถามลงในช่องว่าง
กดปุ่ม "rubber" ลากแท่งยางไปสัมผัสกับลูกบอล ลูกบอลแสดงประจุ _________
กดปุ่ม "glass" ลากแท่งแก้วไปสัมผัสกับลูกบอล ลูกบอลแสดงประจุ _________
จากการทดลองดังกล่าว เราสรุปได้ว่า _________________________________
ปฎิบัติการเสมือนฟิสิกส์ 2
ไฟฟ้าสถิตเรื่องการหาชนิดของประจุไฟฟ้า
คำอธิบาย
มีประจุไม่ทราบชนิดของประจุจำนวน 5 ประจุ (แสดงดังรูปข้างบน) โดยที่แต่ละประจุ จะมีเวกเตอร์แทนแรง กระทำบนประจุนั้น ๆ
ให้นักศึกษาทำการทดสอบโดยการ คลิ๊กแล้วลาก ที่ประจุที่ต้องการที่รูปด้านบนโดยสามารถลากไปบริเวณ
ไหนก็ได้ภายในกรอบรูป คลิกเข้าสู่การทดลอง
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง ประจุไฟฟ้า (ภาคบรรยาย) 1.1 ประจุไฟฟ้าบวกและประจุไฟฟ้าลบ 1.2 ตัวนำกับฉนวน | หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เรื่อง ประจุฟ้า (อ.วัชระ) |
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เรื่องประวัติการค้นพบทางไฟฟ้า 1. ไฟฟ้าและแม่เหล็กในสมัยโบราณ 3. ผู้สร้างประจุไฟฟ้าได้เป็นคนแรก 6. การค้นพบความสัมพันธ์ระหว่างไฟฟ้ากับแม่เหล็ก 7. วิธีส่งข่าวสารด้วยรหัสมอร์ส 9. ผู้ทำแม่เหล็กให้เป็นไฟฟ้าได้สำเร็จ 10. แรงดันไฟฟ้าและความต้านทานของไฟฟ้า 11. ผู้จุดสว่างดวงอาทิตย์ดวงที่สองจากหลอดไฟฟ้า 12. ผู้ทำความคิดของแมกซ์ เวลล์ให้เป็นจริง 13. ผู้สร้างเครื่องส่งวิทยุโทรเลข 14. อุปกรณ์ที่เปลี่ยนแสงอาทิตย์เป็นไฟฟ้า 15. ก้าวเข้าสู่ยุคตัวนำยิ่งยวด ของ ประทีป ชูหมื่นไวย์ และนงนุช สุภธีระ | 11.1 ประจุไฟฟ้า 11.2.1 ตัวอย่าง 11.3 ตัวนำและฉนวน 11.3.1 ตัวอย่าง 11.4 การเหนี่ยวนำไฟฟ้า 11.5 อิเล็กโทรสโคป 11.5.1 ตัวอย่าง 11.6 แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์ 11.6.1 ตัวอย่าง 11.7 สนามไฟฟ้า 11.7.1 ตัวอย่าง 11.8 ศักย์ไฟฟ้า 11.8.1 ตัวอย่าง 11.9 ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า 11.9.1 ตัวอย่าง 11.10 การนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ 11.10.1 แบบฝึกหัดพร้อมเฉลย นำมาจาก ผศ. มานัส มงคลสุข ฟิสิกส์ราชมงคลต้องขอขอบคุณมากครับ |
พลาสติกดูดกระดาษได้ วีดีโอแสดงคุณสมบัติของไฟฟ้าสถิต ด้วยการถูแท่งพลาสติกกับพรม และนำมาดูดกระดาษ ลองตอบคำถามในวีดีโอ คลิกครับ (windows media 1.58 MB) |
บรรยายภาพผ่านกระดานอิเล็กทรอนิกส์
จูบส่งถ่ายประจุ ปรากฎการณ์การส่งถ่ายประจุจากเครื่องแวนเดอร์กราฟ ผ่านทางการจูบไป กดดูการบรรยายเรื่องเครื่องสร้างประจุไฟฟ้า
ที่มา : https://www.sahavicha.com/?name=knowledge&file=readknowledge&id=825