อาการหยุดหายใจชั่วคราวรุนแรงในระหว่างการนอนหลับ นั้นทำให้เกิดความเสี่ยงเพิ่มขึ้น 46% แต่คนที่มีอาการหยุดหายใจชั่วคราวแบบอ่อนระหว่างนอนหลับนั้นจะไม่มี
การหยุดหายใจในเวลากลางคืนอาจเพิ่มความเสี่ยงที่จะเสียชีวิตเพิ่มขึ้น 46%
อาการหยุดหายใจชั่วคราวรุนแรงในระหว่างการนอนหลับ นั้นทำให้เกิดความเสี่ยงเพิ่มขึ้น 46% แต่คนที่มีอาการหยุดหายใจชั่วคราวแบบอ่อนระหว่างนอนหลับนั้นจะไม่มีความเสี่ยงนี้
นักวิจัยระบุว่าคนที่มีภาวะปัญหาทางการหายใจรุนแรงระหว่างนอนหลับนั้นมีแนวโน้มที่จะเสียชีวิตได้จากหลาย ๆ สาเหตุมากกว่ากลุ่มคนที่ไม่มีปัญหาทางการนอนหลับ
เหมือนกัน ความเสี่ยงนี้เกิดขึ้นในชายที่มีภาวะโรคอ้วนที่มีอายุเฉลี่ย 40 ปีถึง 70 ปี โดยนี้เป็นงานวิจัยจากมหาวิทยาลัยบัลติมอร์
ภาพจาก https://www.foosci.com/node/860
ในปัจจุบันยังไม่มีใครทราบว่าปัจจัยอะไรที่ทำให้ สเตรปโตคอกคัส ซูอิส ไทป์ II เกิดการระบาดที่รุนแรง ทำไมจึงมีคนอ่อนแอจำนวนมากที่ติดเชื้อแล้วเสียชีวิต ภูมิคุ้มกันที่เปลี่ยนไป หรือภูมิคุ้มกันลดลงเกิดจากอะไร
ขอขอบคุณและอ่านเพิ่มเติมที่ https://www.foosci.com/node/860
ความรู้เพิ่มเติม
อ่านเนื้อหากันมามากแล้วไปดูรูปภาพกันดีกว่า
ภาพจาก https://varee.ac.th
https://www.thaigoodview.com/library/sema/
สรุป
ส่วนประกอบของระบบหายใจ
มนุษย์ทุกคนต้องหายใจเพื่อมีชีวิตอยู่ การหายใจเข้า อากาศผ่านไปตามอวัยวะของระบบหายใจตามลำดับ ดังนี้
จมูก (Nose)
ภาพจาก https://www.thaigoodview.com/node/8286
หลอดคอ (Pharynx)
ภาพจาก https://www.thaigoodview.com/node/8291
หลอดเสียง (Larynx)
ภาพจาก https://www.thaigoodview.com/node/8293
หลอดลม (Trachea)
ภาพจาก https://www.thaigoodview.com/node/8294
ปอด (Lung)
ภาพจาก https://www.thaigoodview.com/node/8297
เยื่อหุ้มปอด (Pleura)
ภาพจาก https://www.thaigoodview.com/node/8299
หัวใจ
ภาพจาก https://www.thaigoodview.com/node/8302
คำถาม
นักเรียนมีวิธีการอะไรบ้างที่ช่วยให้หัวใจแข็งแรง ?
เนื้อหาสำหรับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ช่วงชั้นที่ 4 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
การบูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น
- สาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพละศึกษา
- สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
กิจกรรมเสนอแนะ
ควรสืบค้นข้อมูลจากแหล่งหลากหลายเนื่องจากเกี่ยวข้องกับระบบต่างๆในร่างกาย
ศึกษาเพิ่มเติมที่
โรคเส้นเลือดหัวใจตีบหรือกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด https://www.siamhealth.net/public_html/Disease/heart_disease/ami/main.htm
ที่มา : https://www.sahavicha.com/?name=knowledge&file=readknowledge&id=1676