แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 ตัวอย่างของฟังก์ชันที่ควรรู้จัก


908 ผู้ชม


ชื่อหน่วยการเรียนรู้ ฟังก์ชันน่ารู้   

แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้    คณิตศาสตร์                                    ชั้นมัธยมศึกษาปีที่   4
สาระที่ 4   พีชคณิต                                          ชื่อหน่วยการเรียนรู้   ฟังก์ชันน่ารู้
แผนที่  10    ตัวอย่างของฟังก์ชันที่ควรรู้จัก                                  เวลา  55  นาที

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 ตัวอย่างของฟังก์ชันที่ควรรู้จัก

มาตรฐาน ค 4.2 : ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และแบบจำลองทางคณิตศาสตร์อื่น ๆ แทนสถานการณ์
ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนำไปใช้แก้ปัญหาได้
1. สาระสำคัญแผนการจัดการเรียนรู้
ฟังก์ชันเพิ่ม ฟังก์ชันลด   บทนิยาม  ให้  f  เป็นฟังก์ชันซึ่งมีโดเมนและเรนจ์เป็นสับเซตของเซตของจำนวนจริงและ A เป็นสับเซตของโดเมน
1.  f เป็นฟังก์ชันเพิ่ม (increasing function) บน A ก็ต่อเมื่อ สำหรับ x 1 และ x 2 ใด ๆใน A  ถ้า  x 1 <  x 2  แล้ว  f(x1) <  f(x2)
2.  f เป็นฟังก์ชันลด (decreasing function) บน A ก็ต่อเมื่อ สำหรับ x 1 และ x 2 ใด ๆใน A  ถ้า  x 1 <  x 2  แล้ว  f(x1) >  f(x2)
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
 2.1 ด้านความรู้ :  นักเรียนสามารถ 
  2.1.1  บอกได้ว่าความสัมพันธ์ที่กำหนดให้เป็นฟังก์ชัน 1–1  หรือไม่
  2.1.2  บอกได้ว่ากราฟที่กำหนดให้เป็นกราฟของฟังก์ชัน 1–1 หรือไม่
  2.1.3  บอกความหมายของฟังก์ชันเพิ่ม ฟังก์ชันลด
  2.1.4 บอกได้ว่าฟังก์ชันที่กำหนดให้ฟังก์ชันใดเป็นฟังก์ชันเพิ่ม ฟังก์ชันใดเป็นฟังก์ชันลด
 2.2 ด้านทักษะกระบวนการ
  2.2.1  มีความสามารถในการแก้ปัญหา
  2.2.2  มีความสามารถในการให้เหตุผล
  2.2.3  มีความสามารถในการสื่อสาร  การสื่อความหมายและการนำเสนอทางคณิตศาสตร์
  2.2.4  มีความสามารถในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์
  2.2.5  มีความสามารถในการเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์
 2.3  ด้านคุณลักษณะ
  2.3.1  มีระเบียบวินัย
  2.3.2  มีความรอบคอบ
  2.3.3  มีความรับผิดชอบ
  2.3.4  มีวิจารณญาณ
  2.3.5  มีความเชื่อมั่นในตนเอง
3. สาระการเรียนรู้
ฟังก์ชันเพิ่ม ฟังก์ชันลด

4. กระบวนการจัดการเรียนรู้
4.1 ผู้สอนทบวนฟังก์ชันที่เคยเรียน  และให้ผู้เรียนศึกษากราฟของฟังก์ชันต่างๆ จากโปรแกรม GSP  และลักษณะของกราฟที่ครูเตรียมไว้โดยครูนำเสนอให้ดูพร้อมกัน  และให้นักเรียนค้นคว้าเพิ่มเติมจาก
https://thaigsp.ipst.ac.th/ 

https://thaigsp.ipst.ac.th/index.php?dmu=resources&sec=news&mod=detail&nid=59


4.2  ผู้สอนยกสถานการณ์ ให้ผู้เรียนวิเคราะห์สถานการณ์ว่าฟังก์ชันที่กำหนดให้เป็นฟังก์ชันชนิดใด  ดังนี้
ฟังก์ชันจาก A ไป  B   ฟังก์ชันจาก B ไป A
ฟังก์ชันจาก A ไป  A   ฟังก์ชันจาก B ไป B
ฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งจาก A ไป  B  ฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งจาก B ไป  B
ฟังก์ชันจาก A ไปทั่วถึง B  ฟังก์ชันจาก A ไปทั่วถึง A
ฟังก์ชันจาก B ไปทั่วถึง A  ฟังก์ชันจาก B ไปทั่วถึง A
กำหนด  A  =  {a , b , c}  และ B = {1 , 2 , 3 , 4}
f1  =  {(a , 1) , (b , 2) , (c , 3)}   f2  =  {(a , 2) , (b , 3) , (c , 3)}
f3  =  {(a , 4) , (b , 4) , (c , 4)}   f4  =  {(1 , 1) , (2 , 2) , (3 , 3) , (4 , 4)}
f5  =  {(1 , a) , (2 , a) , (3 , b) , (4 , c)}  f6  =  {(a , b) , (b , b) , (c , b)}
f7  =  {(1 , 2) , (2 , 3) , (3 , 4) , (4 , 3)}  f8  =  {(a , b) , (b , c) , (c , b)}
4.2  ผู้สอนให้เวลาคิดพร้อมทั้งสุ่มถามผู้เรียนในแต่ละกลุ่ม  จาก f1 ถึง f8  เป็นฟังก์ชันชนิดใดพร้อมทั้งแสดงเหตุผลประกอบ
4.3  ผู้สอนและผู้เรียนช่วยกันเฉลย   
                     f1  ฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งจาก  A ไป  B  f2    ฟังก์ชันจาก A ไป  B 
                     f3  ฟังก์ชันจาก A ไป  B    f4    ฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งจาก  B ไป  B
                     f5  ฟังก์ชันจาก B ไปทั่วถึง A  f6    ฟังก์ชันจาก A ไป  A 
                      f7  ฟังก์ชันจาก B ไป B   f8    ฟังก์ชันจาก A ไป  A
4.4 ผู้สอนให้ผู้เรียนอ่านบทนิยาม ฟังก์ชันเพิ่มและฟังก์ชันลด  ในหนังสือเรียนสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม คณิตศาสตร์เล่ม 2 หน้า 100  พร้อมทั้งยกตัวอย่างประกอบ
4.5 ให้ผู้เรียนศึกษาตัวอย่างที่ 8 – ตัวอย่างที่ 9 ในหนังสือเรียนสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม คณิตศาสตร์
เล่ม 2 หน้า 101 –  หน้า 102 
 4.6  ผู้สอนและผู้เรียนช่วยกันสรุป  เรื่อง  ฟังก์ชันเพิ่มและฟังก์ชันลด  
 4.7  ผู้สอนสรุปหลักในการพิจารณาฟังก์ชันเพิ่ม  ฟังก์ชันลด  และ ฟังก์ชันคงตัว  ในช่วงที่กำหนดให้
  1) ถ้า  x 2 > x 1  แล้ว  f(x2) > f(x1) แสดงว่า  เป็นฟังก์ชันเพิ่ม ( x มากขึ้น แล้ว y มากขึ้น)
  2) ถ้า  x 2 > x 1  แล้ว  f(x2) < f(x1) แสดงว่า  เป็นฟังก์ชันลด ( x มากขึ้น แล้ว y  ลดลง)
  3) ถ้า  x 2 > x 1  แล้ว  f(x2) = f(x1) แสดงว่า  เป็นฟังก์ชันคงตัว ( x มากขึ้น แต่ y  เท่าเดิม)
4.8  ฝึกทักษะโดยทำแบบฝึกหัดที่ 2.3.1 (ข)  ในหนังสือเรียนสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม คณิตศาสตร์เล่ม 2 หน้า 103
4.9  ให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้า  สืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมจาก www. ที่ผู้สอนแนะนำและที่ผู้เรียนเตรียมมา

5. วัสดุอุปกรณ์  สื่อและแหล่งเรียนรู้
5.1  เอกสารประกอบการสอนที่ 10/1 
5.2  แบบฝึกหัดที่ 2.3.1 (ข)  ในหนังสือเรียนสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม คณิตศาสตร์เล่ม 2 หน้า 103

สืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมจาก
https://www.pt.ac.th/WebMath1/page11.html


https://web.ku.ac.th/schoolnet/snet2/vocabulary/voc15.htm


https://www.geocities.com/m411290/One-to-One-Function.htm


https://www.geocities.com/ypbook3000/Book/Math/math4-04.pdf

 6. การวัดผลและประเมินผล
 6.1 วิธีการวัด / สิ่งที่วัด
         สังเกตจากการถามตอบ 
 6.2  เครื่องมือวัด
         แบบสังเกต   และแบบฝึกหัดที่ 2.3.1 (ข)  
6.3  เกณฑ์การวัด
         แบบฝึกหัด  ตอบถูกได้ 1  ตอบผิดได้ 0
6.4  การวัดผลและประเมินผลด้านความรู้ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (K) โดยใช้
                      แบบฝึกหัด   / ชิ้นงาน
6.5  การวัดผลและประเมินผลด้านทักษะกระบวนการ (P) โดยการ
สังเกตพฤติกรรมการเรียน  ตรวจแบบฝึกหัด ตรวจแบบทดสอบ / ชิ้นงาน
6.6  การวัดผลและประเมินผลด้านคุณลักษณะ (A) โดยพิจารณาจาก
มีระเบียบวินัย   มีความรอบคอบ  มีความรับผิดชอบ
7. ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
ได้ทำการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ของ  นางประเทือง  วิบูลศักดิ์  แล้วมีความคิดเห็นดังนี้

7.1  เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 
   ดีมาก   ดี     พอใช้ 
7.2  การจัดกิจกรรมได้นำเอากระบวนการเรียนรู้
    ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญมาใช้ในการเรียนการสอนได้อย่างเหมาะสมดีมาก
    ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญมาใช้ในการเรียนการสอนได้อย่างเหมาะสมดี
 ที่ยังไม่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญมาใช้ในการเรียนการสอน
7.3  เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ที่
   นำไปใช้ได้จริง  
   ควรปรับปรุงก่อนนำมาใช้

         ลงชื่อ ..................................................... หัวหน้าสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
                 (.... ...............................................)
                ......... / ................ / ........
8. บันทึกผลหลังสอน 
………………………………………………………………………..………………………………
…………………………………………………………………………………………….…………………..
………………………………………………………………………..………………………………………
…………………………………………………………………………………………….…………………..
………………………………………………………………………..………………………………………
…………………………………………………………………………………………….…………………..
………………………………………………………………………..………………………………………
…………………………………………………………………………………………….…………………..
งานที่มอบหมาย
..............................................................................................................................................................
………………………………………………………………………………..………………………….……….………………………………………………………………………………..………………………….
………………………………………………………………………………………...………………………
………………………………………………………………………..………………………………………
…………………………………………………………………………………………….…………………..

ปัญหาและอุปสรรคในการเรียนการสอน/แนวทางในการแก้ปัญหา
1. ปัญหา (ด้านความรู้ K) 
นักเรียน.......................................................................................................................................................…………… 
.......................................................................................................................................................……………
การแก้ปัญหา .......................................................................................................................................................……………
.......................................................................................................................................................……………
ผลที่ได้รับจากการแก้ปัญหา.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................……………
2. ปัญหา (ด้านทักษะกระบวนการ P)
การแก้ปัญหา .......................................................................................................................................................……………
.......................................................................................................................................................……………
ผลที่ได้รับจากการแก้ปัญหา.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................……………
3. ปัญหา (ด้านคุณลักษณะ A) 
พฤติกรรมที่เกิดขึ้นกับนักเรียนในชั่วโมง.......................................................................................................................................................…………… 
.......................................................................................................................................................……………
การแก้ปัญหา .......................................................................................................................................................……………
.......................................................................................................................................................……………
ผลที่ได้รับจากการแก้ปัญหา.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................……………

 4. ปัญหา : นักเรียนไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ / ได้คะแนนไม่เป็นที่พึงพอใจ 
.......................................................................................................................................................…………….......................................................................................................................................................…………… 
การแก้ปัญหา .......................................................................................................................................................…………….......................................................................................................................................................…………… 
.......................................................................................................................................................……………

ผลที่ได้รับจากการแก้ปัญหา.......................................................................................................................................................…………….......................................................................................................................................................……………


ลงชื่อ .............................................. ครูผู้สอน
( นางประเทือง   วิบูลศักดิ์ )
        ครูชำนาญการพิเศษ
       .......... / ................ / ........

 
ที่มา : https://www.sahavicha.com/?name=knowledge&file=readknowledge&id=909

อัพเดทล่าสุด