4.6 ตารางกิโลเมตร รอบเขาพระวิหาร
กรณีพิพาท"เขาพระวิหาร"
เกือบ50 ปี...ฝันร้ายแห่งสยาม
กรณีพิพาทเขาพระวิหารซึ่งมีพื้นที่ติดต่อระหว่าง จ.พระวิหาร ของกัมพูชา และ อ.กันทรลักษ์ จ.ศีรสะเกษ เป็นตำนานแห่งความขัดแย้งระหว่างประเทศไทยและกัมพูชา ซึ่งเริ่มต้นมานานหลายสิบปีแล้ว
ปมความขัดแย้งในกรณีพิพาทเขาพระวิหารเริ่มต้นมาตั้งแต่ฝรั่งเศสเข้ามารุกราน และยึดครองพื้นที่ฝั่งซ้ายของแม่น้ำโขง กระทั่งเกิด "กรณีพิพาทอินโดจีน" และเริ่มมีการทำแผนที่เพื่อปักปันเขตแดนระหว่างไทยและกัมพูชา
ในปีพ.ศ.2492 ฝรั่งเศสได้มีการคัดค้านอำนาจอธิปไตยของไทย เหนือเขาพระวิหารอย่างเป็นทางการ เป็นครั้งแรก
ขณะที่กัมพูชาเริ่มเรียกร้องให้เขาพระวิหารเป็นส่วนหนึ่งของกัมพูชาอย่างเป็นทางการครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ.2501
พื้นทีพิพาท พื้นที่ทับซ้อน ทั้งหมด ตั้งแต่ 4.6 ตารางกิโลเมตร รอบเขาพระวิหาร
พื้นทีพิพาทโดยรอบ ที่มีหลักฐานยืนยันว่าไม่ได้เป็นพื้นที่ทับซ้อน และเป็นเขตดินแดนไทย จนกว่าเขมรจะพร้อม เจรจา ปักปันเขตแดน ให้สำเร็จด้วย มาตราส่วน 1 :50,000 สันปันน้ำ หน้าผา ไหล่ทวีป
ที่มาของข่าว
https://www.praviharn.net/index.php
เนื้อหาวิชาคณิตศาสตร์ มาตราส่วนกับแผนที่
แบ่งตามขนาดมาตราส่วน แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
1 แบ่งในทางภูมิศาสตร์
- แผนที่มาตราส่วนเล็ก มีมาตราส่วนเล็กว่า 1 : 1,000,000
- แผนที่มาตราส่วนปานกลาง มีมาตราส่วนตั้งแต่ 1 : 250,000- 1 : 1,000,000
- แผนที่มาตราส่วนใหญ่ มีมาตราส่วนใหญ่กว่า 1 : 250,000
2 แบ่งในกิจการทหาร
- แผนที่มาตราส่วนเล็ก มีมาตราส่วนเล็กว่า 1 : 600,000 และเล็กกว่า
- แผนที่มาตราส่วนปานกลาง มีมาตราส่วนใหญ่กว่า 1 : 600,000 แต่เล็กกว่า 1 : 75,000
- แผนที่มาตราส่วนใหญ่ มีมาตราส่วนใหญ่กว่า 1 : 75,000 และใหญ่กว่า
อ้างอิง
https://www.bp-smakom.org/BP_School
ที่มา : https://www.sahavicha.com/?name=knowledge&file=readknowledge&id=3484