อาเซียนกับข้อพิพาทไทย-เขมร


650 ผู้ชม



อาเซียนเข้ามามีบทบาทในการแก้ปัญหากรณีพิพาทปัญหาพรมแดนและเขาพระวิหาร   

        กรณีพิพาทไทย - กัมพูชา  แย่งความเป็นเจ้าของ  ปราสาทหินอันยิ่งใหญ่ นามว่า  "เขาพระวิหาร" อนาคตมรดกโลกของ  2 ชาติ  ระหว่าง ไทย - เขมร นำมาสู่หายนะความเป็นมิตรภาพบ้านพี่เมืองน้อง  รากเหง้าของความเป็นชาติภูมิภาคเอเซีย  ตามบรรพชนที่มีนักประวัติศาสตร์ได้ศึกษาย้อนรอยอดีตตามหลักฐานทางประวัติศาสตร์ยุคต่าง ๆ  จนในที่สุดก็มาตั้งหลักแหล่งจองที่ปลูกฝังความเป็นชาติของตนเองอย่างถาวร  หากแต่ทั้งสองเพื่อนบ้านไม่ได้ทำเขตแดนอย่างชัดเจน  และบังเอิญเขาพระวิหารตั้งอยู่ระหว่างกึ่งกลางเขตแดน  โดยมีสันปันนำ้เป็นคนกลาง  และในที่สุดก็มีเจ้าแผนที่อัปยศเข้ามาแทรกแซง ทำให้เกิดการสู้รบตามแนวชายแดน

จากข่าวจะพบว่า    บทบาทของอาเซียนกับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

อาเซียนกับข้อพิพาทไทย-เขมร

                                                             ที่มา:  ที่มา:https://atcloud.com/stories/35212

  เนื้อหาสำหรับกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา  ศาสนาและวัฒนธรรม  ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มาตรฐาน ส 4.1  ตัวชี้วัดที่ 4 สาระประวัติศาสตร์

        มนุษย์เป็นสัตว์สังคม  ต้องอยู่ร่วมกันเพื่อช่วยเหลือซึ่งกันและกัน  ในยุคไร้ขอบเขตไร้พรมแดนของโลกโกาภิวัฒน์  สามาถย่อโลกได้ชั่วพริบตา  การร่วมมือระหว่างประเทศเป็นหลักการสำคัญในการอยู่ร่วมกันของพลโลก  การร่วมมือระหว่างประเทศจึงเกิดขึ้นในรูปของเข้ารวมกันเและกัมพูชาป็นสมาชิกของกลุ่มความร่วมมืออาเซียน ที่เรียกว่า  สมาคมประชาชาติแห่งเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East Asian Nations)หรืออาเซียน(ASEAN) ซึ่งประกอบด้วยประเทศต่างๆในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ที่เรียกว่า สิบ บวกสาม ได้แก่ ไทย อินโดนีเซีย ลาว เวียดนาม  มาเลเซีย สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์  บรูไน  พม่า และกัมพูชา ส่วนอีกสามประเทศเป็นประเทศมหาอำนาจทางเศรษฐกิจของภูมิภาคเอเซียตะวันออก  คือ จีน เกาหลีและญี่ปุ่น

อาเซียนกับข้อพิพาทไทย-เขมร

                                                        ที่มา:https://atcloud.com/stories/35212

                                  สถานการณ์ชายแดนไทย-กัมพูชา

   อินโดนีเซีย  ซึ่ง คำถาม
1. กฏบัตรอาเซียน เป็นเพียงเสือกระดาษจริงหรือ?
2. ประธานอาเซียนแก้ปัญหากรณีพิพาทเรื่องพรมแดนไทย กัมพูชา  แก้ปัญหาความขัดแย้งได้หรือไม่?
3.ท่านเห็นด้วยหรือไม่ที่  เราต้องสร้างหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากลเพื่อเตรียมพลเมืองเป็นพลเมืองโลก?

กิจกรรมเสนอแนะ
1. ควรนำเสนอความรู้ในรูปของโครงงานประวัติศาสตร์
2.ควรจัดกิจกรรมโต้วาที
3. ควรจัดมุมนิทรรศการหรือมุมความรู้เกี่ยวกับสมาคมอาเซี่ยน

สามารถนำเนื้อหานี้ไปใช้สอนในสาระการเรียนรู้อื่นๆ
สาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ เรื่อง Word class 
สาระการเรียนรู้ภาษาไทย การใช้ภาษาเพื่อผ่อนคลายความตึงเคลียด
สาระการเรียนรู้ศิลปเรื่องศิลปขอม และสถาปัตยกรรมยุคอารยธรรมขอมโบราณ


ภาพสมาคมประชาชาติอาเซียน
https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/7/7d/ASEAN_HQ_1.jpg

 
ที่มา : https://www.sahavicha.com/?name=knowledge&file=readknowledge&id=3751

อัพเดทล่าสุด