ความรู้พื้นฐานที่จำเป็นที่สุดสำหรับผู้ที่เริ่มอ่านโน้ตสากล เพื่อให้สามารถแปลง โน้ตมาเป็นเสียงโดยการบรรเลงดนตรีหรือขับร้อง
มีอะไรในโน้ตเพลง (ตอนที่ 1)
เมื่อเราเห็นโน้ตเพลงใด ๆ ก็ตาม ส่วนใหญ่เราจะนึกถึงว่ามีตัวโน้ตเสียงอะไร อยู่บรรทัดที่เท่าไหร่ และมีค่ากี่จังหวะ นั่นก็เป็นความรู้พื้นฐานที่จำเป็นที่สุดสำหรับผู้ที่เริ่มอ่านโน้ตสากล เพื่อให้สามารถแปลง โน้ตมาเป็นเสียงโดยการบรรเลงดนตรีหรือขับร้อง (การขับร้องก็ต้องบันทึกเป็นโน้ตเช่นกัน) สิ่งที่ปรากฏในโน้ตเพลงเรียงตามหมายเลขที่ปรากฏในโน้ตเพลงพรปีใหม่ได้แก่
1.เครื่องหมายกุญแจประจำหลัก 2. เครื่องหมายกำหนดจังหวะ 3. อักษรบอกวรรคตอนของเพลง 4. อักษรบอกชื่อคอร์ด 5.เส้นกั้นห้อง ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
1.เครื่องหมายกุญแจประจำหลัก
กุญแจประจำหลัก (Clef ) ใช้เพื่อกำหนดระดับเสียงดนตรีโดยกำกับโน้ตในบรรทัดต่าง ๆ เพื่อให้ได้ระดับเสียงตามที่ต้องการ ซึ่งมีหลายรูปแบบ และบันทึกที่บรรทัดต่างกัน ดังตัวอย่าง
https://watercolorhalfnotes.blogspot.com/2012/01/officially-official.html
หากบันทึกโน้ตเพลงพรปีใหม่ ด้วยกุญแจประจำหลัก ต่างกันโดยใช้โน้ตระดับเสียงเดียวกัน
จะต้องใช้ตำแหน่งการบันทึกโน้ตที่แตกต่างกัน ดังตัวอย่าง
2. เครื่องหมายกำหนดจังหวะ มาจากคำศัพท์คือ Time Signature ซึ่งเป็นตัวเลข 2 ตัวเขียนซ้อนกัน สามารถวางได้ทั้งบรรทัด 5 เส้น และบรรทัดอื่น ๆ รวมทั้ง ไม่มีบรรทัดก็ได้ ซึ่งทั้งหมดมีค่าเท่ากัน ดังตัวอย่าง
เครื่องหมายกำหนดจังหวะมีหลายอัตราจังหวะได้แก่
ศึกษาเพิ่มเติมเรื่องเครื่องหมายกำหนดจังหวะ.ppt
https://wiki.answers.com/Q/What_instruments_play_using_tenor_clef
https://totalguitarist.com/lessons/reading/notation/guide/clefs/
ที่มา : https://www.sahavicha.com/?name=knowledge&file=readknowledge&id=4763