ภาษาอังกฤษ คำศัพท์ บทความ World Blood Donor Day,14 June "It's in you to give."


2,585 ผู้ชม


วันบริจาคโลหิตโลก: วันคล้ายวันเกิด Karl Landsteiner ผู้ค้นพบเลือดกรุ๊ป ABO   

 
ภาพจาก   https://www.who.int

                      วันที่ 14 มิถุนายน ของทุกปีถือเป็นวันบริจาคโลหิตโลก และเป็นวันที่ระลึกถึงKarl Landsteiner ผู้ค้นพบหมู่โลหิต กรุ๊ป ABO และยังเป็นวันที่ผู้ที่ได้รับบริจาคโลหิตได้แสดงความรู้สึกขอบคุณสำหรับการบริจาคโลหิตของผู้ใจบุญทั้งหลาย นี่เป็นตัวอย่างข้อความจากผู้ทีมกรุ๊ปเลือด AB negative ซึ่งเป็นกรุ๊ปที่หายากได้เขียนโคลงบรรยายความรู้สึกและเชิญชวนให้บริจาคโลหิตเพื่อเพื่อนมนุษย์

It's In You to Give


ภาพจาก    https://images.google.co.th 

Red sails in the sunset, way out on the sea
Oh, carry my loved one home safely to me
She sailed at the dawning, all day I've been blue
Red sails in the sunset, I'm trusting in you

—Nat King Cole

        Nat King Cole might have been writing for this very moment: June 14th isWorld Blood Donor Day, and it's a special day for me. I have a very rare blood type, AB negative, which less that 0.5% of Canadians have. Other than making me feel special this means they sometimes want to do blood aphersis on me to sieve out the good stuff from my blood before giving the dross back. It's pretty cool to belong to the rare blood club, though. 

         I started donating blood back in high school. At age seventeen you could donate with a parent's permission slip, and they gave you the afternoon off. To a high school kid it was a pretty straightforward equation: lose some blood, get out of jail free! I've kept up donating over the years, and by now could fill a few carboys with my spare oxygenating circulation medium.

        If you're a donor, I'd like to tell you thanks. At least four people very dear to me have been saved by blood products donated by folks like you, and every day thousands of people rely on blood and blood products to help them through injury and illness ranging from accidents, surgery (a liver transplant needs ten units!), severe burns, chemotherapy, haemophilia, leukaemia and many more. There are few people whose lives haven't been touched by donated blood.

        If you haven't donated before, it's never too late to start--less than 3.5% of the eligible population donates and we could use your help. It doesn't hurt, it takes less than an hour, your donation can help up to three people when they split it into whole blood, platelets and plasma, and you burn off 650 calories in a single donation (didn't know that, did you?)


ภาพจาก https://images.google.co.th
 
CLICK HERE 
for more info about Karl Landsteiner

Achieving 100 percent non-remunerated donation of blood and blood components¨

 

         Millions of people around the world owe their lives to individuals they will never meet – people who donate their blood to help others. But millions more still can’t get safe blood when they need it. World Blood Donor Day, celebrated on June 14 every year, provides a unique opportunity to thank those very special people that help and to raise awareness about the need for more support.

        Established by the World Health Assembly, this day marks the birthday of Karl Landsteiner, the Nobel laureate who discovered the ABO blood group system. There is broad international support to raise awareness of the need for safe blood around the world and encourage eligible individuals to donate blood regularly so that blood is readily available for all who need it when required

สำหรับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น

มาตรฐานการเรียนรู้
ต.1.1 เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่างๆและแสดงความคิดเห็น
        อย่างมีเหตุผล
ต.1.2 มีทักษะการสื่อสารทางภาษาไทยในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร แสดงความรู้สึก
        และความคิดเห็นอย่างมีประสิทธิภาพ
ต.1.3 นำเสนอข้อมูลข่าวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ โดยการพูด
        และการเขียน
ต.3.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความรู้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น และเป็นพื้นฐาน
        ในการพัฒนา แสวงหาความรู้ และเปิดโลกทัศน์ของตน

กิจกรรมการเรียนการสอน
1.  นักเรียนเขียนโคลงสั้นๆที่เชิญชวน การบริจาคโลหิตหรือทำความดีคนละ 1 บท
2. เมื่อครูตรวจแล้วให้เขียนใส่การ์ดที่นักเรียนทำ
3. นำไปจัดนิทรรศการ

บูรณาการกับกลุ่มสาระ 
1. สุขศึกษาและพลศึกษา
2. ศิลปศึกษา

 ข้อมูลเพิ่มเติมสำหรับครู

        ปกติคนเราจะมีเลือดอยู่ในร่างกายประมาณ 70-80 มิลลิลิตรต่อน้ำหนัก 1 กิโลกรัม หากเรา
เสียเลือดไม่เกิน 15% เช่น บริจาคเลือด ก็จะไม่เกิดอันตรายต่อร่างกาย แต่ถ้าเราเสียเลือดเกิน 50%
แล้วไม่ได้น้ำเกลือ ไม่ได้พลาสมา หรือน้ำเหลือง และไม่ได้เลือด ก็จะต้องเสียชีวิต..
 

        ในการบริจาคเลือดแต่ละครั้ง ควรทิ้งช่วง 3 เดือน ซึ่งเลือดที่บริจาคไป ไม่เพียงแต่ทำให้ได้

เลือดไปช่วยชีวิตผู้ป่วยเท่านั้น แต่ยังสามารถแยกเป็นพลาสมา หรือน้ำเหลืองไปช่วยผู้ป่วยได้อีก ทางด้วย
เลือดที่บริจาคมีทั้งเม็ดเลือดแดง และน้ำเหลือง ปกติเราก็จะนำเลือดของผู้บริจาคมาปั่น

แยกเป็นเม็ดเลือดแดง และน้ำเหลือง ถ้ามีอุบัติเหตุเข้ามา แพทย์ส่วนใหญ่ก็จะต้องให้น้ำเกลือ หรือให้
น้ำเหลืองไว้ก่อน จนกว่าจะทราบว่าผู้ป่วยหมู่เลือดอะไร ยูนิตไหนที่เข้ากันได้ 

        ผลดีอีกประการทีมีต่อร่างกายของผู้บริจาค คือ จะทราบเลยว่าตัวเองนั้นเลือดเข้มข้นปกติ หรือเปล่า

เพราะเราต้องตรวจก่อนว่ามีเลือดมาก และเข้มข้นเพียงพอ ซึ่งนั่นจะทำให้เราได้รับทราบถึง
สภาพร่างกายทั่วไปด้วย เช่น ความดันเป็นอย่างไร ปอด หัวใจเต้นปกติหรือเปล่า นอกจากนั้นการ
เสียเลือดก็จะไปกระตุ้นให้ไขกระดูกสร้างเม็ดเลือดออกมาใหม่ 
        การบริจาคเลือดเหมือนการไปกระตุ้นให้ไขกระดูกทำงาน และสร้างเม็ดเลือดใหม่ออกมาตลอด เวลา

จะทำให้ไขกระดูกรู้หน้าที่ เวลาที่เราเสียเลือดขึ้นมา ไขกระดูกก็จะรีบทำงานสร้างเม็ดเลือดใหม่ ๆ
ออกมาอยู่ในกระแสเลือด หล่อเลี้ยงร่างกายและทำให้ร่างกายแข็งแรงตลอดเวลา  

ที่มา-  https://images.google.co.th 
        https://www.who.int

ที่มา : https://www.sahavicha.com/?name=knowledge&file=readknowledge&id=694

อัพเดทล่าสุด