การอนุรักษ์สัตว์ป่าสงวน คุณค่า สัตว์ป่าสงวน ไทย


1,699 ผู้ชม


การอนุรักษ์สัตว์ป่าสงวน


สัตว์ป่า เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับป่าไม้รองจากต้นไม้ ปัจจุบันมีการนำ สัตว์ป่า มาใช้เป็นดัชนีวัดค่าความอุดสมบูรณ์ของทรัพยากรป่าไม้ คือ ถ้าป่าไม้ที่ใดพบ สัตว์ป่า มาก แสดงว่าป่าไม้ที่นั้นมีความอุดสมบูรณ์ แต่สำหรับประเทศตาม พระราชบัญญัติสงวน และคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ.2535 แบ่ง สัตว์ป่า ออกเป็น 2 ประเภท คือ สัตว์ป่าคุ้มครอง หมายถึง สัตว์ป่า ที่ได้รับความตามกฎหมายห้ามล่าหรือมีซากไว้ในครอบครอง เว้นแต่เพื่อประโยชน์ทานวิชาการ โดยต้องขออนุญาต จากกรมป่าไม้เสียก่อน เช่น นกเงือก ปลาบึก เต่าปูลู ค้างคาวกิตติ เสือโครง เสือดาว เป็นสัตว์ป่าหายากมักพบในป่าไม้ที่อุดสมบูรณ์ แต่ตอนนี้ สัตว์ป่า มีการสูญพันธ์ไปเพราะป่าไม้โดยทำลายป่าไม้จึงป่าเสียไปทำให้สัตว์ป่าไม่มีที่อยู่อาศัย สัตว์ป่าสงวน หมายถึง สัตว์ป่า หายากหรือกำลังจะสูญพันธ์ การอนุรักษ์สัตว์ป่าสงวน สัตว์ป่า ประเภทนี้ห้ามมิให้ล่าหรือมีไว้ครอบครอง ทั้งสัตว์มีชีวิตและไม่มีชีวิตและซากสัตว์ ยกเว้นล่าเพื่อการศึกษาวิจัยหรือกิจการสวนสัตว์ ซึ่งต้องได้รับอนุญาตจากกรมป่าไม้เป็นกรณีพิเศษ มีทั้งหมด 15 ชนิด ได้แก่ กูปรี เก้งหม้อ นกแต้วแล้วท้องดำ สมเสร็จ กวางผา ควายป่า นกเจ้าฟ้าหญิงสิรินอง กระซู่ เสียงผา แมวลายหินอ่อน แวด นกกระเรียน หรือหมูน้ำ สัตว์ป่า พวกนี้เป็น สัตว์ป่า ที่จะสูญพันธ์ไปหมดแล้วแต่มีสัตว์บางชนิดที่ยังอยู่ เช่น แรด ควายป่า แมวลายหินอ่อน กวางผา แต่พบอยู่นอกจากสัตว์ป่าสงวนและสัตว์ป่าคุ้มครองแล้วสัตว์ที่ไม่มี ตามบัญชีพระอาชญัปติสงวนและคุ้มครองสัตว์ เช่น ตะกวด งูเห่า หนู หมูป่า สัตว์ป่าเหล่านี้อนุญาตให้ล่าได้แต่สัตว์ป่าสงวนเป็นที่หายาก ต้องการอนุรักษ์ไว้เพื่อแพพันธ์ต่อไป การอนุรักษ์สัตว์ป่าสงวน แต่ป่าไม้ไม่สมบูรณ์จึงต้องรักษาธรรมชาติไว้ ถ้าต้นไม้หมดไปสัตว์ป่าก็ไม่มีเลยในประเทศไทย เพราะสัตว์ป่ามีน้อยมากในประเทศไทยเรา
 
  การอนุรักษ์สัตว์ป่า

การอนุรักษ์สัตว์ป่าสงวน สัตว์ป่ามีประโยชน์ต่อสิ่งแวดล้อมซึ่งรวมถึงคนเราด้วยทั้งโดยทางตรงและทางอ้อม จึงต้องมีวิธีการป้องกันและแก้ไขไม่ให้สัตว์ป่าลดจำนวนหรือสูญพันธุ์ด้วยการอนุรักษ์สัตว์ป่า ดังนี้

1. การอนุรักษ์สัตว์ป่าสงวน กำหนดกฎหมายและวิธีการปฏิบัติอย่างเคร่งครัด เพื่อให้ป่าเป็นแหล่งอาหารที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่า อาทิ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขตเพาะพันธุ์สัตว์ป่า ฯลฯ ให้มีมากเพียงพอ

2. การอนุรักษ์สัตว์ป่าสงวน การรณรงค์เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ให้เห็นความสำคัญในการอนุรักษ์สัตว์ป่าอย่างจริงจัง

3. การอนุรักษ์สัตว์ป่าสงวน การไม่ล่าสัตว์ป่า ไม่ควรมีการล่าสัตว์ป่าทุกชนิด ทั้งสัตว์ป่าสงวนสัตว์ป่าคุ้มครองเพราะปัจจุบันสัตว์ป่าทุกชนิดได้ลดจำนวนลงอย่างมากทำให้ขาดความสมดุลทางธรรมชาติ

4. การอนุรักษ์สัตว์ป่าสงวน การป้องกันไฟป่า ไฟป่านอกจากจะทำให้ป่าไม้ถูกทำลายแล้วยังเป็นการทำลายแหล่งอาหารและที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่าด้วย

5. การอนุรักษ์สัตว์ป่าสงวน การปลูกฝังการให้ความรัก และเมตตาต่อสัตว์อย่างถูกวิธีสัตว์ป่าทุกชนิดมีความรักชีวิตเหมือนกับมนุษย์ การฆ่าสัตว์ป่า การนำสัตว์ป่ามาเลี้ยงไว้ในบ้านเป็นการทรมานสัตว์ป่า ซึ่งมักไม่มีชีวิตรอด

6. การอนุรักษ์สัตว์ป่าสงวน การเพาะพันธุ์เพิ่มสัตว์ป่าที่กำลังจะสูญพันธุ์หรือมีจำนวนน้อยลง ควรมีการเพาะพันธุ์ขยายพันธุ์ให้มีจำนวนเพิ่มขึ้น เพื่อเป็นการทดแทนและเร่งให้มีสัตว์ป่าเพิ่มมากขึ้น

ในอดีตที่ผ่านมาทรัพยากรธรรมชาติของประเทศไทยอุดมสมบูรณ์พื้นที่ป่า ยังคงปกคลุมทั่ว สัตว์ป่า มีอยู่อย่างชุกชุม มีการใช้ การอนุรักษ์สัตว์ป่าสงวน ทรัพยากรอย่างฟุ่มเฟือยไม่รู้คุณค่า โดยเฉพาะ สัตว์ป่า มีการล่าเป็นอาหารล่าเพื่อเป็นกีฬา และล่าเพื่อทำการค้าทั้งใน ประเทศ และส่งออกต่างประเทศ โดยปราศจากกฎหมายใดๆคุ้มครอง ต่อมาเมื่อประชากรเพิ่มขึ้น การบุกรุกป่าเพื่อทำกินมีมากขึ้น สัตว์ป่าถูกคุกคาม และลดจำนวนลงอย่างรวดเร็วกว่าที่เคยเป็นมาในรอบหลายสิบปีจน บางชนิด ได้สูญพันธุ์ไปจากเมืองไทย สูญพันธุ์ไปจากโลก การอนุรักษ์สัตว์ป่าสงวน สัตว์ชนิดนั้นคือ สมัน ซึ่งเป็น กวางที่มีเขาสวยงามที่สุดชนิดหนึ่ง ดังนั้นปี พ.ศ. 2503 ภาครัฐโดยการ ร่วมมือขององค์กรอนุรักษ์ต่างๆ ได้ตระหนักถึงคุณค่าของสัตว์ป่า ผลักดัน ให้เกิดกฎหมายคุ้มครองสัตว์ป่าฉบับแรกของประเทศไทย คือ พระราชบัญญัติสงวน และคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2503 ซึ่งในกฎหมายฉบับนี้ได.กำหนดสัตว์ป่าที่หายากเป็น สัตว์ป่าสงวน" จำนวน 9 ชนิด คือ แรด กระซู่ กูปรีหรือโคไพร ควายป่า ละองหรือละมั่ง " สมันหรือเนื้อสมัน ทรายหรือเนื้อทรายหรือตามะแน เลียงผาหรือเยืองหรือกูรำหรือ โครำ และกวางผา เมื่อเวลาผ่านไปได้มีการปรับปรุงกฎหมายให้เกิดความทันสมัย เหมาะสมกับสถานการณ์สัตวว์ป่าในประเทศไทย และสอดคล้องกับความร่วมมือด้าน การอนุรักษ์ทรัพยากรระดับนานาชาติ ได้มีการตราพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครอง สัตว์ป่า พ.ศ. 2535 ซึ่งมีผลบังคับใช้.มาจนถึงปัจจุบัน ซึ่งในพระราชบัญญัติได้แก้ไข เพิ่มเติม รายชื่อสัตว์ป่าสงวน ด้วยพิจารณาเห็นว่า ประชากรสัตว์ป่าหลายชนิด เพิ่มขึ้นจากการเพาะขยายพันธุ์ เช่น เนื้อทราย และประชากรสัตว์ป่า อีกหลาย ชนิดลดลงอย่างน่าวิตก เช่น นกแต้วแล้วท้องดำ หรือสัตว์ป่าบางชนิดไม่มีรายงาน การพบเห็นมาเป็นระยะเวลานาน เช่น นกกระเรียน แมวลายหินอ่อน จึงได้ถอดชื่อ เนื้อทรายออกจากบัญชี สัตว์ป่าสงวน และเพิ่มนกเจ้าฟ้าหิงสิริธร นกแต้วแล้วท้องดำ นกกระเรียน แมวลายหินอ่อน สมเสร็จ เก้งหม้อ และพะยูนหรือหมูน้ำ รวมเป็นสัตว์ป่าสงวน 15 ชนิด กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ตระหนักเป็นอย่างยิ่งว่า การเผยแพร่ข้อมูลด้านวิชาการที่ถูกต้องและสมบูรณ์ให้แก่หน่วยงานทั้ง ภาครัฐและภาคเอกชน นักศึกษา นักเรียน และประชาชนทั่วไป ได้ทราบถึง ความงดงาม ความมีคุณค่า เกร็ดความรู้ต่างๆ ของสัตว์ป่าสงวนแต่ละชนิด รวมทั้งปัจจัยที่คุกคามจนทำให้สัตว์ป่าเหล่านั้นอยู่ในสภาวะวิกฤติ ประชากรเสี่ยงต่อการสูพันธุ์จะช่วยให้ทุกคนหันมาช่วยกันคุ้มครอง ป้องกันภัยให้สัตว์ป่าสงวนอยู่รอดสืบลูกหลานต่อไป นอกจากนี้เพื่อ เป็นบทเรียนที่คอยเตือนใจให้แต่ละคนร่วมมือหยุดยั้งการล่า การค้าสัตว์ป่า ให้สัตว์ป่าของประเทศไทยได้อยู่รอดปลอดภัย สามารถสืบเผ่าพันธุ์ให้คง อยู่ตลอดไป

ที่มา : https://nongbow.ob.tc/-View.php?N= 26             

          www.dnp.go.th

อัพเดทล่าสุด