ฉายาดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ และ ชื่อดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ


7,591 ผู้ชม


     สัญลักษณ์ของดวงดาวในระบบสุริยะ      

ฉายาดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ และ ชื่อดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ ดาวเคราะห์ (Planets) ในระบบสุริยะทั้งหมด 9 ดวง เรียงตามลำดับ โดยมีดวงอาทิตย์ (Sun) เป็นศูนย์กลาง ดังนี้ ดาวพุธ (Mercury) ดาวศุกร์ (Venus) โลก (Earth) ดาวอังคาร (Mars) ดาวพฤหัสบดี (Jupiter) ดาวเสาร์ (Saturm) ดาวยูเรนัส (Uranus) ดาวเนปจูน (Neptune) และดาวพลูโต (Pluto) ดาวเคราะห์ที่มีขนาดใกล้เคียงกับโลกของเราก็มีดาวพุธ ดาวศุกร์ ดาวอังคาร และดาวพลูโต ที่มีขนาดใหญ่กว่าโลก มีดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน มีดาวเคราะห์ 7 ดวง รวมทั้งโลกที่มีดวงจันทร์เป็นบริวารมีจำนวนแตกต่างกันออกไปยกเว้นดาวเคราะห์วงใน 2 ดวงคือ ดาวพุธและดาวศุกร์ ที่ไม่มีดวงจันทร์บริวาร

ฉายาดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ และ ชื่อดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ สำหรับมนุษย์บนโลก เรารู้จักดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดวงดาวบนท้องฟ้ามาตั้งแต่ดึกดำบรรพ์ มีการศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับดวงดาวและวัตถุท้องฟ้ามานานกว่า 8,000 ปีแล้ว ไม่ว่าจะเป็นในสมัยบาบิโลเนีย อียิปต์โบราณ หรือกรีกโบราณก็ตาม ซึ่งในแต่ละยุคสมัยต่างก็มีข้อมูลหลักฐานยืนยันถึงความเจริญรุ่งเรืองและความสนใจเกี่ยวกับความรู้ทางด้านดาราศาสตร์ แตกต่างกันออกไป ได้มีการตั้งชื่อของดาวเคราะห์และให้สัญลักษณ์ของดาวเคราะห์ทุกดวงเป็นฃื่อของเทพเจ้า เทพธิดา หรือสิ่งที่ตนเคารพนับถือและบูชา เช่น ใช้สัญลักษณ์ของเทพอาทิตย์แทนด้วยรูปคล้ายนกอินทรี ใช้สัญลักษณ์เทพเจ้าซินแทนด้วยรูปดวงจันทร์ ใช้สัญลักษณ์รูปดาว16 แฉกแทนความหมายดาวศุกร์ หมายถึง เทพธิดาอิชทาร์ (Ishtar) เป็นเทพแห่งความรัก ความสมบูรณ์ เหล่านี้เป็นต้น

ฉายาดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ และ ชื่อดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ การใช้สัญลักษณ์จึงปรากฎมีมาแต่โบราณกาล และให้ความหมายที่สอดคล้องกับดาวแต่ละดวง

ฉายาดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ และ ชื่อดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ
ฉายาดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ และ ชื่อดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ ดวงอาทิตย์ (Sun)

ฉายาดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ และ ชื่อดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ สัญลักษณ์ของดวงอาทิตย์เป็นรูปวงกลม มีจุดอยู่ที่จุดศูนย์กลาง หมายถึง จุดกำเนิดของชีวิต ดวงอาทิตย์ให้พลังงานความร้อน ให้ความอบอุ่น ให้แสงงสว่างแกมวลสรรพสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่บนโลก เป็นดาวฤกษ์ที่อยู่ใกล้โลกที่สุด อยู่ห่างจากโลก 150 ล้านกิโลเมตร หรือ 1 หน่วยดาราศาสตร์

ฉายาดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ และ ชื่อดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ

ดวงจันทร์ (Moon)

 

ฉายาดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ และ ชื่อดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ สัญลักษณ์ของดวงจันทร์เป็นรูปจันทร์เสี้ยว ส่วนรูปหญิงสาวกำลังยิงธนูคือ เทพีแห่งการล่าสัตว์ ดวงจันทร์เป็นดาวเคราะห์ที่สว่างมากเป็นอันดับหนึ่งในเวลากลางคืน บนดวงจันทร์ไม่มีน้ำและบรรยากาศห่อหุ้มเป็นบริวารดวงเดียวของโลกและอยู่ใกล้โลกมากที่สุด

ฉายาดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ และ ชื่อดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ
ฉายาดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ และ ชื่อดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ ดาวพุธ (Mercury)

ฉายาดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ และ ชื่อดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ สัญลักษณ์ของดาวพุธเป็นรูปงูพันไม้เท้า มีปีกดาวพุธเป็นดาวเคราะห์ที่มีขนาดเล็กกว่าโลก เคลื่อนที่เร็วที่สุด จึงเปรียบเสมือนเทพเจ้าผู้ส่งข่าว อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด สามรถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า บนดาวพุธไม่มีบรรยากาศ พื้นผิวเต็มไปด้วยหลุมบ่อ มีหน้าผาสูง หุบเหว และรอยแยก

ฉายาดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ และ ชื่อดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ

ดาวศุกร์ (Venus)

 

ฉายาดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ และ ชื่อดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ สัญลักษณ์ของดาวศุกร์ เป็นรูปกระจกเงาที่มีมือถือ ใช้แทนสัญลักษณ์สากลของเพศหญิง ดาวศุกร์เป็นดาวเคราะห์ที่มีแสงสว่างสวยงามมาก ชาวโรมันจึงเรียกดาวดวงนี้ว่า วีนัส เป็น เทพธิดาแห่งความงาม สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า มีบรรยากาศหนาทึบเต็มไปด้วยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และไอของกรดกำมะถน เป็นดาวเคราะห์ที่มีขนาดใกล้เคียงกับโลกมากที่สุด จึงได้ชื่อว่าเป็น ดาวคู่แฝดกับโลก ไม่มีดวงจันทร์เป็นบริวาร

ฉายาดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ และ ชื่อดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ
ฉายาดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ และ ชื่อดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ โลก (Earth)

ฉายาดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ และ ชื่อดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ สัญลักษณ์ของโลกเป็นรูปวงกลมรอบกากบาทซึ่งหมายถึงเส้นศูนย์สูตร และส้นลองจิจูดของโลก โลกเป็นดาวเคราะห์สีน้ำเงินดวงเดียวในระบบสุริยะที่มีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ มีดวงจันทร์เป็นบริวาร 1 ดวง และพื้นผิวส่วนใหญ่ปกคลุมด้วยน้ำ โลกจึงได้ชื่อว่าเป็น ดาวเคราะห์แห่งพื้นน้ำ

ฉายาดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ และ ชื่อดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ

ดาวอังคาร (Mars)

ฉายาดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ และ ชื่อดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ สัญลักษณ์ของดาวอังคารเป็นรูปโล่และหอก ใช้แทนสัญลักษณ์สากลของเพศชาย เป็นดาวเคราะห์สีแดง ได้ชื่อว่าเป็น เทพเจ้าแห่งสงคราม เพราะปรากฏเป็นสีแดงในท้องฟ้า อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลำดับที่ 4 มีบรรยากาศเบาบาง ส่วนใหญ่จะประกอบด้วยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ พื้นผิวมีแต่รอยแยก หลุมบ่อ และภูเขาไฟอยู่ทั่วไปไม่มีสิ่งมีชีวิตบนดาวอังคาร มีดวงจันทร์เป็นบริวาร 2 ดวง ชื่อ โฟบอส และ ไดมอส

ฉายาดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ และ ชื่อดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ
ฉายาดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ และ ชื่อดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ ดาวพฤหัสบดี (Jupiter)

ฉายาดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ และ ชื่อดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ สัญลักษณ์ของดาวพฤหัสบดีเป็นรูปสายฟ้าแลบ เป็นดาวเคราะห์ที่ใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะ มีขนาดใหญ่กว่าโลกประมาณ 12 เทา อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลำดับที่ 5 บรรยากาศส่วนใหญ่เป็นก๊าซไฮโดรเจน ไม่มีก๊าซออกซิเจน มีจุดแดงใหญ่และแถบสีคล้ำพาดผ่านขวางตัวดวงเป็นลักษณะเด่นมีดวงจันทร์เป็นบริวาร 16 ดวง ที่มีขนาดใหญ่ 4 ดวงเห็นชัดเจน ซึ่งกาลิเลโอเป็นผู้ส่องกล้องค้นพบเรียกว่า ดวงจันทร์กาลิเลียน

ฉายาดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ และ ชื่อดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ ได้แก่ ไอโอ ยุโรปา แกนิมีด และ คัลลิสโต สำหรับ ดวงจันทร์แนนิมีด (Ganymede) เป็นดวงจันทร์ที่ใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะ มีเส้นผ่านศูนย์กลางถึง 5,260 กิโลเมตร

ฉายาดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ และ ชื่อดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ

ดาวเสาร์ (Saturn)

ฉายาดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ และ ชื่อดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ สัญลักษณ์ดาวเสาร์เป็นรูปเคียว เพราะดาวเสาร์เป็น เทพเจ้าแห่งการเก็บเกี่ยว สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า มีสีเหลืองอ่อน เมื่อดูด้วยกล้องโทรทรรศน์จะเห็นวงแหวนล้อมรอบสวยงาม 7 ชั้น เป็นดาวเคราะห์ที่มีดวงจันทร์เป็นบริวารมากถึง 18 ดวง

ฉายาดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ และ ชื่อดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ ดวงจันทร์ดวงใหญ่ที่สุดของดาวเสาร์ชื่อว่า ไททัน (Titan) มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่สองในระบบสุริยะรองจากดวงจันทร์แกนิมีด (Gany-made)ของดาวพฤหัสบดี

ฉายาดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ และ ชื่อดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ
ฉายาดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ และ ชื่อดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ ดาวยูเรนัส (Uranus)

ฉายาดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ และ ชื่อดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ สัญลักษณ์ดาวยูเรนัสแทนสวรรค์ เพราะยูเรนัสเป็นเทพเจ้าแห่งท้องฟ้า ของกรีก เป็นดาวเคราะห์ที่ วิลเลียม เฮอร์เชล ค้นพบโดยอาศัยกล้องโทรทรรศน์ส่องค้นพบปี พ.ศ. 2324 มีองค์ประกอบคล้ายดาวพฤหัสบดี คือ ประกอบด้วยก๊าซไฮโดรเจนและฮีเลียม ดาวยูเรนัสมีสีฟ้าเขียว มีดวงจันทร์เป็นบริวาร 15 ดวง ชื่อไทยของดาวยูเรนัสคือ ดาวมฤตยู

ฉายาดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ และ ชื่อดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ

ดาวเนปจูน (Neptune)

ฉายาดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ และ ชื่อดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ สัญลักษณ์ดาวเนปจูนเป็นรูปตรีศร หรือสามง่าม เนปจูนเป็น เทพเจ้าแห่งทะเล ของโรมัน มีสามง่ามเป็นอาวุธ เป็นดาวเคราะห์ที่มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า ส่องกล้องโทรทรรศน์ค้นพบโอย จอห์น คูช อะดัมส์ ชาวอังกฤษ และ เลอแวร์รีเย ชาวฝรั่งเศส บรรยากาศบนดาวเนปจูนเต็มไปด้วยก๊าซมีเทน มีจุดสีดำ มีวงแหวนล้อมรอบ 5 ชั้น และมีดวงจันทร์เป็นบริวาร 8 ดวง ชื่อไทยของดาวเนปจูนคือ ดาวเกตุ

ฉายาดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ และ ชื่อดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ
ฉายาดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ และ ชื่อดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ ดาวพลูโต (Pluto)

ฉายาดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ และ ชื่อดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ สัญลักษณ์ดาวพลูโตเป็นรูปตัว P และ L รวมกัน เป็นอักษรย่อของ Percival Lowell นักดาราศาสตร์สหรัฐฯ ผู้มีส่วนช่วยให้ค้นพบดาวพลูโต ผู้ส่องกล้องค้นพบโดยไคลด์ ทอมบอห์ ค้นพบที่หอดูดาวโลเวลล์ เมื่อ พ.ศ. 2473 ดาวพลูโตเป็นดาวเคราะห์ขนาดเล็กที่สุดในระบบสุริยะและอยู่ไกลมากเป็นอันดับที่ 9 จึงไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า ดาวพลูโตมีดวงจันทร์เป็นบริวาร 1 ดวงเหมือนกับโลก ชื่อ ชารอน (Charon) ชื่อไทยของดาวพลูโตคือ ดาวยม

ฉายาดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ และ ชื่อดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ

https://www.rayongwit.ac.th/library/astro/wanich/toward%20star.htm

อัพเดทล่าสุด