ตำรับยาสมุนไพรรักษาโรคเบาหวานหายขาด - สมุนไพรแก้เบาหวาน


10,298 ผู้ชม

เบาหวาน ( Diabetes mellitus) เป็นความผิดปกติของร่างกายที่มีการผลิต ฮอร์โมน อินซูลิน ( Insulin) ไม่เพียงพอ


สมุนไพรรักษาเบาหวาน

      เบาหวาน ( Diabetes mellitus) เป็นความผิดปกติของร่างกายที่มีการผลิต ฮอร์โมน อินซูลิน
( Insulin) ไม่เพียงพอ อันส่งผลทำให้ระดับ น้ำตาล ใน กระแสเลือด สูงเกิน โรคนี้มีความรุนแรงสืบเนื่องมาจากการที่ร่าง
กายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้อย่างเหมาะสม โดยปกติน้ำตาลจะเข้าสู่เซลล์ร่างกายเพื่อใช้เป็นพลังงานภายใต้การควบคุมของ
ฮอร์โมนอินซูลินในผู้ชายที่เป็นโรคเบาหวานจะไม่สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ   ผลที่เกิดขึ้นทำให้ระดับน้ำตาล
ในเลือดสูงขึ้น ในระยะยาวจะมีผลในการทำลายหลอดเลือด  ถ้าหากไม่ได้รับการรักษาอย่างเหมาะสม อาจนำไปสู่สภาวะ
แทรกซ้อนที่รุนแรงได้
นิดและสาเหตุ
   
เบาหวาน สามารถแบ่งออกเป็น 2 ชนิด ได้แก่
       •  โรคเบาหวานชนิดที่ 1
เกิดจากภูมิต้านทานของร่างกายทำลายเซลล์ ซึ่งสร้างอินซูลินในส่วนของ ตับอ่อน ทำให้ร่างกายหยุดสร้างอินซูลิน ดังนั้นผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 1 จึงจำเป็นต้องฉีดอินซูลิน เพื่อควบคุมน้ำตาลใน
เลือดระยะยาว
             
•  โรคเบาหวานชนิดที่ 2 าเหตุที่แท้จริงนั้นยังไม่ทราบชัดเจน แต่มีส่วนเกี่ยวกับ พันธุกรรม นอก
จากนี้ ยังมีความสัมพันธ์กับภาวะน้ำหนักตัวมาก และขาดการออกกำลังกาย ทั้งวัยที่เพิ่มขึ้น เซลล์ของผู้ป่วยยังคงมีการสร้าง
อินซูลินแต่ทำงานไม่เป็นปกติ เนื่องจากมีภาวะดื้อต่ออินซูลิน ทำให้เซลล์ที่สร้างอินซูลินค่อยๆถูกทำลายไป บางคนเริ่มมีภาวะ
แทรกซ้อนโดยไม่รู้ตัว และต้องการยาในการรับประทาน และบางรายต้องใช้อินซูลินชนิดฉีด เพื่อควบคุมน้ำตาลในเลือด

อาการ
     
ถ้าหากพบอาการดังต่อไปนี้ ควรปรึกษาแพทย์
    
•  ปัสสาวะมากขึ้นและบ่อยครั้งขึ้น

        •  ปัสสาวะกลางคืนบ่อยขึ้น (ระหว่างช่วงเวลาที่เข้านอนแล้วจนถึงเวลาตื่นนอน)
        •  หิวน้ำบ่อยและดื่มน้ำในปริมาณที่มากๆ
        •  เหนื่อยง่ายไม่มีเรี่ยวแรง
        •  น้ำหนักตัวลดโดยไม่ทราบสาเหตุ โดยเฉพาะถ้าหากน้ำหนักเคยมากมาก่อน
        •  ติดเชื้อบ่อยกว่าปกติ เช่น ติดเชื้อทางผิวหนังและกระเพาะอาหาร
        •  สายตาพร่ามองเห็นไม่ชัดเจน
        •  เป็นแผลหายช้า
      โดย เบาหวานชนิดที่ 2 อาจจะมีอาการเหล่านี้บางอย่าง หรืออาจไม่มีอาการเหล่านี้เลย อาการแทรกซ้อน
      
•  ภาวะแทรกซ้อนทางสายตา ( Diabetic retinopathy)

        •  ภาวะแทรกซ้อนทางไต ( Diabetic nephropathy)
        •  ภาวะแทรกซ้อนทางระบบประสาท ( Diabetic neuropathy)
        •  โรคหลอดเลือดหัวใจ ( Coronary vascular disease)
        •  โรคหลอดเลือดสมอง ( Cerebrovascular disease)
        •  โรคของหลอดเลือดส่วนปลาย ( Peripheral vascular disease)
        •  แผลเรื้อรังจากเบาหวาน ( Diabetic ulcer)

การดูแลป้องกันโรคเบาหวาน
  
  •  ควบคุมน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ปกติและแก้ไขปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ การรักษาจำเป็นจะต้องทำงานร่วมกันระหว่าง ผู้ป่วย แพทย์ ผู้ให้คำแนะนำเรื่องโรคเบาหวาน โภชนาการ และ ยา การรักษานี้จะช่วยให้เกิดความสมดุลทั้ง
ในด้านโภชนาการ การออกกำลังกาย และการใช้ยารักษา
   •  ควรเจาะระดับน้ำตาลในเลือดสม่ำเสมอ ให้ปรึกษาแพทย์ว่าควรเจาะช่วงใด และบ่อยแค่ไหนถึงจะดีที่สุด
      •  ยาบางชนิดหรือยา
สมุนไพร อาจมีผลต่อการควบคุมน้ำตาลในเลือด จะต้องตรวจสอบกับแพทย์และ เภสัชกร ก่อนเลือกผลิตภัณฑ์ยาเหล่านี้

เคล็ดลับการรักษาด้วยว่านหางจระเข้

         โรคเบาหวานเกิดจากการเผาผลาญอาหารในร่างกายผิดปกติไปและว่านหางจระเข้ก็ช่วยกระตุ้นการเผาผลาญอาหาร
ในร่างกายได้ จึงใช้ได้ผลดีมาก
     วิธีรับประทานจะรับประทานว่านสดหรือจะดื่มน้ำคั้นว่านหางจระเข้ก็ได้ ในปริมาณ 15กรัมทุกวันหากเป็นการรับ
ประทานเพื่อป้องกันโรค ก็อาจรับประทานในปริมาณที่น้อยลง
        
ใคร ๆ ก็รู้ว่ามีประโยชน์ สำหรับผู้ป่วยโรคเบาหวานนั้นการออกกำลังกายมีประโยชน์ทั้งในแง่ของ
การทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดลดลง และยังสามารถป้องกันการเกิดเป็นโรคเบาหวานในคนที่มีปัจจัย
เสี่ยงต่อการเป็นโรคนี้ด้วย ก่อนที่จะเริ่มออกกำลังกาย ผู้ป่วยโรคเบาหวานจะต้องมีการเตรียมตัวและวาง
แผนมากกว่าคนทั่วไปอีกเล็กน้อย

           การออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคเบาหวาน ควรออกกำลังนานเกินกว่า 30 นาที โดยควรมีช่วงของการอุ่นเครื่อง 10
นาที และช่วงของการเบาเครื่อง 10 นาทีด้วย แต่เนื่องจากผู้ป่วยเบาหวานจะต้องระมัดระวังไม่ให้เกิดบาดแผลที่บริเวณ
เท้า ดังนั้น การออกกำลังกายจึงควรเลือกประเภทที่ไม่มีผลต่อการบาดเจ็บที่เท้า เช่น โยคะ รำมวยจีน การเดินเร็ว การว่าย
น้ำ หรือการปั่นจักรยาน

          สำหรับผู้ป่วยเบาหวานที่จำเป็นต้องฉีดอินซูลิน อาจจะต้องปรึกษาแพทย์เพื่อประเมินสภาพเบาหวาน ปรับอาหาร
และปรับปริมาณยาก่อนที่จะออกกำลังกาย ควรจะออกกำลังกายก่อนฉีดยา และตรวจระดับน้ำตาลในเลือดก่อนและหลังการ
ออกกำลังกายในระยะแรก เพื่อให้ทราบการเปลี่ยนแปลงของน้ำตาลในเลือด อย่าฉีดอินซูลินลงในกล้ามเนื้อที่ใช้ออกกำลัง
เช่น บริเวณหน้าขาเพราะจะทำให้เกิดดูดซึมอินซูลินอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้น้ำตาลในเลือดต่ำจนเกิดอันตราย พบว่าตำแหน่ง
ที่ดีที่สุดในการฉีดยาควรเป็นบริเวณหน้าท้องและที่สำคัญขณะออกกำลังกายควรพกอาหารพวกคาร์โบไฮเดรตที่ออกฤทธิ์เร็ว
เช่น น้ำตาลก้อน หรือท็อฟฟี่ติดตัวเพื่อเตรียมไว้แก้ไขปัญหาน้ำตาลในเลือดต่ำฉุกเฉิน เราพบว่าการออกกำลังกายสม่ำเสมอ
ทุกวันแบบไม่หักโหมนั้นเป็นวิธีหนึ่งที่มีประโยชน์ต่อร่างกายแล้วยังช่วยให้ยืดอายุผู้ป่วยเบาหวานให้ยาวนานอีกด้วย แพทย์
หญิงเจรียง จันทรกมล นายกสมาคมศิษย์เก่าแพทย์จุฬาลงกรณ์ สนับสนุนข้อมูลโดย แพทย์หญิงศิริกานต์ นิเทศวรวิทย์ อายุร
แพทย์ต่อมไร้ท่อและเมตาบอลิสม

---------------------

มุนไพรรักษาโรคเบาหวานที่ควรทราบ


ตำรับยาสมุนไพรรักษาโรคเบาหวานหายขาด - สมุนไพรแก้เบาหวาน

สัก
ใบ ใช้ตากแห้งคั่วชงดื่ม
เป็นยาแก้โรคเบาหวาน

ตำรับยาสมุนไพรรักษาโรคเบาหวานหายขาด - สมุนไพรแก้เบาหวาน

ชื่ออื่น ผักเหย  ผักไห่  มะร้อยรู  
      มะห่อย  มะไห่
  ในทางแผนโบราณใช้เป็นยาเจริญอาหาร
รักษาเบาหวาน บำรุงตับ  ฯลฯ

ข้อมูลทางวืทยาศาสตร์
     
       พบว่าในเมล็ดแก่ของมะระขี้นก มีโปรตีน TBG-P 29 ซึ่งมีฤทธิ์ต้านเชื้อ HIV โดยการยับยั้งเอนไซม์
revere transcriptase (9) นอกจากนี้ผลอ่อนของมะระขี้นกยังใช้เป็นยาเจริญอาหาร รักษาอาการเบื่อ
อาหารในผู้ป่วยเอดส์ได้ดีมีการทดลองทางคลินิคจากจำนวนผู้ป่วย 28 คน พบว่ามีความอยากอาหารเพิ่มขึ้น
รู้สึกแข็งแรงขึ้น 28 คน = 100% น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น 22 คน = 78.5% ลดลง 6 คน = 21.43% (11)


ตำรับยาสมุนไพรรักษาโรคเบาหวานหายขาด - สมุนไพรแก้เบาหวาน

แปะ ตำปึงหรือจินฉี่เหมาเยี่ย ถูกตั้งชื่อไทยว่า “ จักรนารายณ์ ” เป็นพืชพุ่มเตี้ย จัดอยู่ในตระกูล COMPOSITEA มีชื่อทางพฤกษศาสตร์ว่า Gynura sarmentosa DC.


โรคที่แปะตำปึงรักษาหายมาแล้ว ได้แก่ เบาหวาน ความดันสูง-ต่ำ โรค
หืดหอบ-ภูมิแพ้ มะเร็งทุกชนิด ริดสีดวงทวาร งูสวัด โรคเก๊า ขับนิ่ว ฝีหนองทั่วไป โรคหัวใจ โลหิตจาง เนื้องอกในไต ปวดเหงือก ปวดท้องประจำเดือน คลอเรสเตอรอล ไขมันในเส้นเลือด ไทรอยด์ ปวดเส้น ปวดหลัง ไม่เชื่อไม่เป็นไร แต่ก็มีคนหายมาแล้ว เป็นต้นไม้จากเมืองจีนนี่แหละ เข้ามาเมืองไทยหลายปีแล้ว คนนิยมนำใบสดมารับประทาน ( มีเคล็ดลับนิดหน่อย) ยกตัวอย่างเช่น คนที่เป็นเบาหวาน ทานใบยาไป 3 เดือน หมอตรวจอีกรอบยังไม่พบเลยนะ แต่ก็มีสมุนไพรจีนอีกตัวนึง ชื่อว่า "ขนไก่ทองคำ" ( จินฉีนเหมาเย่) ก็ใช้ใบสดทานนี่แหละ สรรพคุณทางยาคล้ายแปะตำปึงแต่ได้ยินว่าประสิทธิภาพดีกว่าหน่อย ตอนนี้กำลังดัง มีลูกค้าเคยบอกว่า เพื่อนเป็นมะเร็ง ทานไปก็หายเลยล่ะ แต่ไม่ได้ถามเขาว่าทานกี่เดือน แล้วเป็นมะเร็งที่ไหน ถ้าใครสนใจติดต่อมาได้ค่ะ เรามีจำหน่าย ขายดีด้วย size เล็กหมด มีตั้งแต่ 50 บาทถึง 300 บาท ( มีสูตรยาแจกให้กับลูกค้าด้วยค่ะ)

ต้นยาแปะตำปึง เดิมเป็นต้นยาจากประเทศจีน ลักษณะใบจะหนานุ่มคล้ายกำมะหยี่ รสชาดของใบคล้ายชมพู่เพชรที่ยังไม่แก่ สรรพคุณ ได้แก่ ฟอกเลือด ปรับระบบเลือด รักษาแผลภายใน-ภายนอก ชะล้างสารพิษภายในร่างกายออกทาง อุจจาระ ปัสสาวะ และดวงตา ทำให้กินข้าวได้ นอนหลับ โรคที่แปะตำปึงรักษาหายมาแล้ว ได้แก่ เบาหวาน ความดัน หืดหอบ-ภูมิแพ้ โรคหัวใจ โลหิตจาง เนื้องอกในไต คอเลสเตอรอล ไขมันในเส้นเลือด ฯลฯ
        แปะตำปึงเป็นสมุนไพรที่มีไว้สำหรับแจก ไม่ควรมีการซื้อขาย เคยอ่านเจอหลายเวบมีแต่แจกฟรี หรือหาซื้อได้เดี๋ยวนี้มีเยอะกระถางละ 20 - 25 บาท ( ลองอ่านข้างล่างนี้ดูน๊ะ)
เกษตรวิจัย : ‘ จักรนารายณ์หรือแปะตำปึง ' พืชสมุนไพนรครอบจักรวาล
ใน บรรดาพืชสมุนไพรมีทั้งของไทยและต่างประเทศ มีการใช้ประโยชน์จากส่วนต่าง ๆ ของพืชแตกต่างกัน และมีคุณสมบัติมากน้อยแตกต่างกัน แต่ต้นยาที่ชื่อ “ แปะตำปึง ” จากประเทศจีน หรือบางท่านเรียกว่า “ จินฉี่เหมาเยี่ย ” เข้ามาประเทศไทยพร้อมกับหญ้าปักกิ่ง หรือหญ้าเทวดา ไม่นานมานี้แต่แปะตำปึงหรือจินฉี่เหมาเยี่ย ถูกตั้งชื่อไทยว่า “ จักรนารายณ์ ” เป็นพืชพุ่มเตี้ย จัดอยู่ในตระกูล COMPOSITEA มีชื่อทางพฤกษศาสตร์ว่า Gynura sarmentosa DC. มีด้วยกัน 2 ชนิด คือ ชนิดใบนุ่มเหมือนกำมะหยี่ ใบเป็นสีเขียวอ่อนเส้นใบด้านบนลึกเช่นเดียวกับกลางใบ แต่ด้านหลังใบกลับนูนขึ้น กิ่งก้านเปราะหักง่าย ส่วนอีกชนิดหนึ่งใบมีลักษณะค่อนข้างแหลม สีเขียว ประโยชน์ใช้ใบรับประทานสด ซึ่งมีกลิ่นคล้ายผลชมพู่สาแหรกขณะผลอ่อน แต่มีรสเย็น การขยายพันธุ์ใช้กิ่งปักชำ อนึ่งบางท่านบอกว่าชนิดใบยาวเรียก “ จินฉี่เหมาเยี่ย ” แต่สรรพคุณเหมือนกัน
คุณสุรพล กานตรีเพชร สมาชิกชมรมไม้ดอกไม้ประดับและไม้ผลตลิ่งชัน และเป็นเจ้าหน้าที่ดูแลสถานที่สถานีทดลองพืชสวนบางกอกน้อยของกรมวิชาการ เกษตร บอกว่า ใช้ใบสดของแปะตำปึง รับประทานสดวันละ 5-7 ใบ ประมาณ 7 วัน รับประทานง่าย ๆ ไม่มีรสฝาดหรือขมแต่อย่างใด หรือจะรับประทานเป็นของเคียงกับลาบ ส้มตำ แหนม หรือจะผสมไปในสลัดผักก็ได้ โรคที่พืชสมุนไพรชนิดนี้มีผู้รับรองว่ารักษาหายแล้ว ได้แก่ โรคเบาหวาน , ความดันสูง-ต่ำ , หืดหอบ , ภูมิแพ้ , โรคมะเร็งทุกชนิด , ริดสีดวง-ทวารหนัก , งูสวัด , โรคเกาต์ และขับนิ่ว , แผลสะเก็ดเงิน , พุพองฝีหนองทั่วไป , โรคหัวใจ , โลหิตจาง , เนื้องอกต่าง ๆ ในไต , ปวดเหงือกปวดฟัน , แผลอักเสบ , ปวดประจำเดือน , ไขมันในเส้นเลือด , ไทรอยด์ , ปวดเส้นปวดหลัง , โรคกระเพาะอาหาร , ตาอักเสบ , ตาเป็นต้อ ขุ่นมัว ก็บอกแล้วไงว่าเป็นพืชสมุนไพรครอบจักรวาล
        สำหรับ โรคตา ต่าง ๆ ใช้แปะตำปึงโขลกแล้วนำมาพอกที่ตาประมาณ 20-30 นาที หรือโรคเกี่ยวกับผิวหนังเช่น
งูสวัด , ผิวเป็นหนองอักเสบ พุพอง ใช้แปะตำปึง มาโขลกผสมกับน้ำตาลทรายแดง โดยอาศัยคุณสมบัติของน้ำตาลทรายแดง ช่วยในการจับแปะตำปึงไม่ ให้หลุดร่วงง่ายเท่านั้นเอง ถึงอย่างไรก็ควรระวังเรื่องอาหารของแสลง เช่นเนื้อ , กุ้ง , หมึก (ไม่เรียกว่าปลาหมึกเพราะไม่ใช่ปลา แต่เป็นสัตว์ทะเลชนิดหนึ่ง) ปู , ปลาทู , ปลาร้า , กะปิ , หน่อไม้ , ข้าวเหนียว , แตงกวา , หัวผักกาด , เผือก , สาเก , เครื่องดองของเมา และถ้าสุขภาพไม่แข็งแรงควรงดน้ำชากาแฟด้วย
        หลังจากที่ตัดกิ่งแปะตำปึง และเด็ดใบมารับประทานแล้ว จึงตัดกิ่งเป็นท่อน ๆ ยาวประมาณ 10-15 ซม. มาปักชำนำไปไว้ในที่รำไร และหมั่นรดน้ำเสมอ ประมาณ 7-10 วัน ก็จะแตกรากเป็นต้นใหม่ แต่พันธุ์ไม้ชนิดนี้ไม่ชอบร่มมากนัก และอายุต้นจะนานเพียง 1 ปีเท่านั้น ปัจจุบันมีผู้นำมาเพาะชำขาย กระถางละ 20-25 บาท แต่คุณสุรพล กานตรีเพชร มีไว้แจกฟรี สนใจติดต่อ โทร. 0-6771-1 992


ยีงมีต่อ
ข้อมูลที่มา  www.pairojgarden.com

อัพเดทล่าสุด