https://lentera.uin-alauddin.ac.id/question/gratis-terlengkap/https://old-elearning.uad.ac.id/gampang-menang/https://fk.ilearn.unand.ac.id/demo/https://elearning.uika-bogor.ac.id/tanpa-potongan/https://e-learning.iainponorogo.ac.id/thai/https://organisasi.palembang.go.id/userfiles/images/https://lms.binawan.ac.id/terbaik/https://disperkim.purwakartakab.go.id/storage/https://pakbejo.jatengprov.go.id/assets/https://zonalapor.fis.unp.ac.id/-/slot-terbaik/https://sepasi.tubankab.go.id/2024tte/storage/http://ti.lab.gunadarma.ac.id/jobe/runguard/https://satudata.kemenpora.go.id/uploads/terbaru/
รู้หรือไม่ ที่มาของคำว่า “เด็กไม่เอาถ่าน” MUSLIMTHAIPOST

 

รู้หรือไม่ ที่มาของคำว่า “เด็กไม่เอาถ่าน”


817 ผู้ชม

เด็กที่วันๆ เอาแต่เล่นเกมส์ออนไลน์ ไม่อ่านหนังสือเรียน การบ้านไม่ทำ


เด็กที่วันๆ เอาแต่เล่นเกมส์ออนไลน์ ไม่อ่านหนังสือเรียน การบ้านไม่ทำ งานบ้านก็ไม่เคยคิดจะหยิบจับช่วยเหลือพ่อแม่ ทานอาหารแล้วไม่รู้จักล้างจานชาม เหล่านี้ล้วนเป็นตัวอย่างพฤติกรรมของ "เด็กไม่เอาถ่าน"

ทำไมจึงเรียก "เด็กไม่เอาถ่าน" คาดกันว่าคำนี้มีที่มาจากคำเดิม คือ "เหล็กไม่เอาถ่าน" เพราะในสมัยก่อนนั้น การหลอมเหล็กหรือตีอาวุธจากเหล็กให้แข็งแกร่งนั้น

จำเป็นต้องใช้ถ่านในการก่อเปลวไฟจนลุกโชน เพื่อให้ความร้อนแก่เหล็ก แล้วถ่านหรือคาร์บอนจะแทรกตัวเข้าไปอยู่ในเนื้อเหล็กหลังจากการถลุง

รู้หรือไม่ ที่มาของคำว่า “เด็กไม่เอาถ่าน”

ถ้าเหล็กไม่มีถ่านผสมอยู่เลย เหล็กนั้นจะมีคุณภาพต่ำ ไม่แข็งและเหนียวพอที่จะเรียกว่า เหล็กกล้า แต่หากมีมากเกินไปจะทำให้เหล็กเปราะ เหล็กที่ดีควรมีคาร์บอนเข้าไปผสมอยู่ประมาณ 0.1 - 1.8%

ช่างตีอาวุธจากเหล็กในสมัยโบราณ จำเป็นต้องคิดค้นหากลวิธี เพื่อขจัดปัญหาดาบหัก เพราะแสดงถึงกรรมวิธีการผลิตที่ไม่ดีทำให้เหล็กไม่เอาถ่าน จนกลายเป็นคำพูดติดปาก เปรียบเทียบนิสัยคนกับอาวุธว่า "เหล็กไม่เอาถ่าน"

ที่มา : หนังสือ ภาษาคาใจ ภาค 3 ถอดรหัสภาษาไทยที่ยัง 'ค้างคาใจ' เขียนโดย สังคีต จันทนะโพธิ

อัพเดทล่าสุด