ฝ่าฝืนระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานว่าด้วยวินัยและความประพฤติอย่างร้ายแรง
ลดอัตราเงินเดือนของพนักงาน
เงินที่นายจ้างจ่ายให้แก่ลูกจ้างเมื่อเลิกจ้างนอกเหนือจากเงินประเภทอื่นซึ่งนายจ้างตกลงจ่ายให้แก่นายจ้าง
ค่าจ้างที่โจทก์ต้องชำระแก่จำเลย
นายจ้างให้ลูกจ้างออกจากงานเพราะครบเกษียณอายุ
ตามพระราชบัญญัติ คุณสมบัติมาตรฐานสำหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2518
ฝ่าาฝืนไม่ปฏิบัติตามข้อกำหนดของประกาศกระทรวงมหาดไทย
ลูกจ้างจำเลยดื่มสุราจนมึนเมาภายในบริเวณโรงแรม
คำกล่าว "งานทุกอย่างจะต้องผ่านการเห็นชอบ...ทำให้พนักงานทำงานกันไม่ได้เต็มที่เนื่องจากการหวาดกลัว "
คำสั่งเลิกจ้าง ระบุเหตุเลิกจ้างว่ามีพฤติการณ์ปฏิบัติหน้าที่ไม่สุจริต
การเลิกจ้างจะเป็นธรรมหรือไม่ ต้องพิจารณาถึงสาเหตุแห่งการเลิกจ้างเป็นประการสำคัญ
การตกลงขยายระยะเวลาการเกษียณอายุสำหรับลูกจ้าง
ไม่ยอมจ่ายค่าชดเชยให้ลูกจ้าง
คำสั่งเลิกจ้าง กับ พฤติการณ์ปฏิบัติหน้าที่ไม่สุจริต
ลดตำแหน่ง หัวหน้าพนักงานขายระดับ 6 เป็นพนักงานขาย ระดับ 5
ลูกจ้าง ดื่มสุราจนมึนเมาภายในบริเวณโรงแรม เมื่อพ้นเวลาปฏิบัติหน้าที่ไปแล้ว
ปลดลูกจ้าง เพียงแค่ละทิ้งการปฏิบัติงานเท่านั้น
พนักงาน หลอกลวงเรียกรับผลประโยชน์จากผู้อื่น
ลูกจ้างขออนุญาตผู้บังคับบัญชาออกนอกสถานที่ ผู้บังคับบัญชาสั่งให้ลูกจ้างยื่นใบลาครึ่งวัน
อาศัยอำนาจหน้าที่ ชักชวนพนักงานหญิงที่อยู่ภายใต้บังคับบัญชา ออกไปเที่ยวเตร่
ลูกจ้าง ถูกบีบบังคับ ข่มขู่ ให้เซ็นใบลาออก ??
มีคำสั่งยกเลิกตำแหน่งและไม่ยินยอมปฏิบัติตามคำสั่ง ???
พนักงานรักษาความปลอดภัย หน้าที่ประการหนึ่งคือการระมัดระวังมิให้สินค้าของจำเลยสูญหาย
นายจ้างจะต้องกระทำการใด ๆ เพื่อไม่ให้ลูกจ้างทำงานต่อไปและไม่จ่ายค่าจ้างให้จึงจะเป็นการเลิกจ้าง
ประพฤติชั่ว อันเป็นการฝ่าฝืนระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน
การระบุ เหตุผลแห่งการเลิกจ้าง ในหนังสือเลิกจ้าง
หัวหน้างาน ชักชวนพนักงานหญิงออกไปเที่ยวเตร่ ในเวลาค่ำคืนนอกเวลางาน
คู่มือพนักงานและคำมั่นสัญญาส่วนบุคคล กับการเลิกจ้าง
ลูกจ้างถูกเตือนเรื่องการลากิจ ต่อมาลาป่วย ถือว่าเป็นคนละเรื่องกับกรณีที่ถูกเตือน