พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 23-37 หมวด 2 การใช้แรงงานทั่วไป


795 ผู้ชม


พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 23-37
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 23-37 หมวด 2 การใช้แรงงานทั่วไป
:: หมวด 2 การใช้แรงงานทั่วไป
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 23-37 หมวด 2 การใช้แรงงานทั่วไป
มาตรา 23 ให้นายจ้างประกาศเวลาทำงานปกติให้ลูกจ้าง ทราบโดยกำหนดเวลาเริ่มต้นและเวลาสิ้นสุดของการทำงานแต่ละวัน ของลูกจ้างได้ไม่เกินเวลาทำงานของแต่ละประเภทงาน ตามที่ กำหนดในกฎกระทรวง แต่วันหนึ่งต้องไม่เกินแปดชั่วโมงและเมื่อรวม เวลาทำงานทั้งสิ้นแล้วสัปดาห์หนึ่งต้องไม่เกินสี่สิบแปดชั่วโมง เว้นแต่ งานที่อาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพและความปลอดภัยของลูกจ้างที่ กำหนดในกฎกระทรวง จะมีเวลาทำงานปกติวันหนึ่งต้องไม่เกิน เจ็ดชั่วโมง แต่เมื่อรวมเวลาทำงานทั้งสิ้นแล้วสัปดาห์หนึ่งไม่เกิน สี่สิบสองชั่วโมง
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 23-37 หมวด 2 การใช้แรงงานทั่วไป ในกรณีที่นายจ้างไม่อาจประกาศกำหนดเวลาเริ่มต้นและเวลา สิ้นสุดของการทำงานแต่ละวันได้เนื่องจากลักษณะหรือสภาพของงาน ให้นายจ้างและลูกจ้างตกลงกันกำหนดชั่วโมงทำงานแต่ละวันไม่เกิน แปดชั่วโมง และเมื่อรวมเวลาทำงานทั้งสิ้นแล้วสัปดาห์หนึ่งต้องไม่ เกินสี่สิบแปดชั่วโมง
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 23-37 หมวด 2 การใช้แรงงานทั่วไป
มาตรา 24 ห้ามมิให้นายจ้างให้ลูกจ้างทำงานล่วงเวลาในวัน ทำงาน เว้นแต่ได้รับความยินยอมจากลูกจ้างก่อนเป็นคราว ๆ ไป
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 23-37 หมวด 2 การใช้แรงงานทั่วไป ในกรณีที่ลักษณะหรือสภาพของงานต้องทำติดต่อกันไป ถ้าหยุดจะเสียหายแก่งาน หรือเป็นงานฉุกเฉิน หรือเป็นงานอื่น ตามที่กำหนดในกฎกระทรวง นายจ้างอาจให้ลูกจ้างทำงานล่วง เวลาได้เท่าที่จำเป็น
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 23-37 หมวด 2 การใช้แรงงานทั่วไป
มาตรา 25 ห้ามมิให้นายจ้างให้ลูกจ้างทำงานในวันหยุด เว้นแต่ในกรณีที่ลักษณะหรือสภาพของงานต้องทำติดต่อกันไป ถ้าหยุดจะเสียหายแก่งาน หรือเป็นงานฉุกเฉิน นายจ้างอาจให้ ลูกจ้างทำงานในวันหยุดได้เท่าที่จำเป็น
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 23-37 หมวด 2 การใช้แรงงานทั่วไป ในนายจ้างอาจให้ลูกจ้างทำงานในวันหยุดได้สำหรับกิจการ โรงแรม สถานมหรสพ งานขนส่ง ร้านขายอาหาร ร้านขาย เครื่องดื่มสโมสรสมาคม สถานพยาบาล หรือกิจการอื่นตามที่ กำหนดในกฎกระทรวง
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 23-37 หมวด 2 การใช้แรงงานทั่วไป เพื่อประโยชน์แก่การผลิต การจำหน่าย และการบริการ นายจ้างอาจให้ลูกจ้างทำงาน นอกจากที่กำหนดตามวรรคหนึ่ง และสองในวันหยุดเท่าที่จำเป็น โดยได้รับความยินยอมจาก ลูกจ้างก่อนเป็นคราว ๆ ไป
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 23-37 หมวด 2 การใช้แรงงานทั่วไป
มาตรา 26 ชั่วโมงทำงานล่วงเวลาตาม มาตรา 24 วรรคหนึ่ง และชั่วโมงทำงานในวันหยุดตาม มาตรา 25 วรรคสอง และวรรคสาม เมื่อรวมแล้วจะต้องไม่เกินอัตราตามที่กำหนดใน กฎกระทรวง
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 23-37 หมวด 2 การใช้แรงงานทั่วไป
มาตรา 27 ในวันที่มีการทำงาน ให้นายจ้างจัดให้ลูกจ้าง มีเวลาพักระหว่างการทำงานวันหนึ่งไม่น้อยกว่าหนึ่งชั่วโมงหลัง จากที่ลูกจ้างทำงานมาแล้วไม่เกินห้าชั่วโมงติดต่อกัน นายจ้าง และลูกจ้างอาจตกลงกันล่วงหน้าให้มีเวลาพักครั้งหนึ่งน้อยกว่า หนึ่งชั่วโมงได้ แต่เมื่อรวมกันแล้ววันหนึ่งต้องไม่น้อยกว่าหนึ่ง ชั่วโมง
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 23-37 หมวด 2 การใช้แรงงานทั่วไป ในกรณีที่นายจ้างและลูกจ้างตกลงกันกำหนดเวลาพักระหว่าง การทำงานตามวรรคหนึ่งเป็นอย่างอื่น ถ้าข้อตกลงนั้นเป็นประโยชน์ แก่ลูกจ้าง ให้ข้อตกลงนั้นใช้บังคับได้
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 23-37 หมวด 2 การใช้แรงงานทั่วไป เวลาพักระหว่างการทำงานไม่ให้นับรวมเป็นเวลาทำงาน เว้น แต่เวลาพักที่รวมกันแล้วในวันหนึ่งเกินสองชั่วโมง ให้นับเวลาที่เกิน สองชั่วโมงนั้นเป็นเวลาทำงานปกติ
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 23-37 หมวด 2 การใช้แรงงานทั่วไป ในกรณีที่มีการทำงานล่วงเวลาต่อจากเวลาทำงานปกติไม่น้อย กว่าสองชั่วโมง นายจ้างต้องจัดให้ลูกจ้างมีเวลาพักไม่น้อยกว่ายี่สิบ นาทีก่อนที่ลูกจ้างเริ่มทำงานล่วงเวลา
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 23-37 หมวด 2 การใช้แรงงานทั่วไป ความในวรรคหนึ่งและวรรคสี่มิให้ใช้บังคับแก่กรณีที่ลูกจ้าง ทำงานที่มีลักษณะ หรือสภาพของงานต้องทำติดต่อกันไปโดยได้ รับความยินยอมจากลูกจ้างหรือเป็นงานฉุกเฉิน
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 23-37 หมวด 2 การใช้แรงงานทั่วไป
มาตรา 28 ให้นายจ้างจัดให้ลูกจ้างมีวันหยุดประจำสัปดาห์ สัปดาห์หนึ่งไม่น้อยกว่าหนึ่งวันโดยวันหยุดประจำสัปดาห์ต้องมี ระยะห่างกันไม่เกินหกวัน นายจ้างและลูกจ้างอาจตกลงกันล่วง หน้ากำหนดให้มีวันหยุดประจำสัปดาห์วันใดก็ได้
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 23-37 หมวด 2 การใช้แรงงานทั่วไป ในกรณีที่ลูกจ้างทำงานโรงแรม งานขนส่ง งานในป่า งานใน ที่ทุรกันดาร หรืองานอื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง นายจ้าง และลูกจ้างอาจตกลงกันล่วงหน้าสะสมวันหยุดประจำสัปดาห์และ เลื่อนไปหยุดเมื่อใดก็ได้ แต่ต้องอยู่ในระยะเวลาสี่สัปดาห์ติดต่อกัน
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 23-37 หมวด 2 การใช้แรงงานทั่วไป
มาตรา 29 ให้นายจ้างประกาศกำหนดวันหยุดตาม ประเพณีให้ลูกจ้างทราบเป็นการล่วงหน้าปีหนึ่งไม่น้อยกว่า สิบสามวันโดยรวมวันแรงงานแห่งชาติตามที่รัฐมนตรี ประกาศกำหนด
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 23-37 หมวด 2 การใช้แรงงานทั่วไป ให้นายจ้างพิจารณากำหนดวันหยุดตามประเพณีจาก วันหยุดราชการประจำปี วันหยุดทางศาสนาหรือ ขนบธรรมเนียมประเพณีแห่งท้องถิ่น
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 23-37 หมวด 2 การใช้แรงงานทั่วไป ในกรณีที่วันหยุดตามประเพณีวันใดตรงกับวันหยุด ประจำสัปดาห์ของลูกจ้าง ให้ลูกจ้างได้หยุดชดเชยวันหยุด ตามประเพณีในวันทำงานถัดไป
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 23-37 หมวด 2 การใช้แรงงานทั่วไป ในกรณีที่นายจ้างไม่อาจให้ลูกจ้างหยุดตามประเพณี ได้ เนื่องจากลูกจ้างทำงานที่มีลักษณะหรือสภาพของงาน ตามที่กำหนดในกฎกระทรวง ให้นายจ้างตกลงกับลูกจ้าง ว่า จะหยุดในวันอื่นชดเชยวันหยุดตามประเพณีหรือ นายจ้างจะจ่ายค่าทำงานในวันหยุดให้ก็ได้
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 23-37 หมวด 2 การใช้แรงงานทั่วไป
มาตรา 30 ลูกจ้างซึ่งทำงานติดต่อกันมาแล้วครบหนึ่งปีมี สิทธิหยุดพักผ่อนประจำปีได้ปีหนึ่งไม่น้อยกว่าหกวันทำงานโดยให้ นายจ้างเป็นผู้กำหนดวันหยุดดังกล่าวให้แก่ลูกจ้างล่วงหน้าหรือ กำหนดให้ตามที่นายจ้างและลูกจ้างตกลงกัน
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 23-37 หมวด 2 การใช้แรงงานทั่วไป ในปีต่อมานายจ้างอาจกำหนดวันหยุดพักผ่อนประจำปีให้แก่ ลูกจ้างมากกว่าหกวันทำงานก็ได้
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 23-37 หมวด 2 การใช้แรงงานทั่วไป ในายจ้างและลูกจ้างอาจตกลงกันล่วงหน้าให้สะสมและเลื่อน วันหยุดพักผ่อนประจำปีที่ยังมิได้หยุดในปีนั้นรวมเข้ากับปีต่อ ๆ ไปได้
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 23-37 หมวด 2 การใช้แรงงานทั่วไป สำหรับลูกจ้างซึ่งทำงานยังไม่ครบหนึ่งปี นายจ้างอาจกำหนด วันหยุดพักผ่อนประจำปีให้แก่ลูกจ้างโดยคำนวณให้ตามส่วนก็ได้
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 23-37 หมวด 2 การใช้แรงงานทั่วไป
มาตรา 31 ห้ามมิให้นายจ้างให้ลูกจ้างทำงานล่วงเวลา หรือทำงานในวันหยุดในงานที่อาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพและความ ปลอดภัยของลูกจ้างตาม มาตรา 23 วรรคหนึ่ง
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 23-37 หมวด 2 การใช้แรงงานทั่วไป
มาตรา 32 ให้ลูกจ้างมีสิทธิลาป่วยได้เท่าที่ป่วยจริง การ ลาป่วยตั้งแต่สามวันทำงานขึ้นไปนายจ้างอาจให้ลูกจ้างแสดงใบ รับรองของแพทย์แผนปัจจุบันชั้นหนึ่งหรือของสถานพยาบาล ของทางราชการในกรณีที่ลูกจ้างไม่อาจแสดงใบรับรองของแพทย์ แผนปัจจุบันชั้นหนึ่งหรือของสถานพยาบาลของทางราชการได้ ให้ลูกจ้างชี้แจงให้นายจ้างทราบ
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 23-37 หมวด 2 การใช้แรงงานทั่วไป ในกรณีที่นายจ้างจัดแพทย์ไว้ ให้แพทย์นั้นเป็นผู้ออกใบ รับรอง เว้นแต่ลูกจ้างไม่สามารถให้แพทย์นั้นตรวจได้
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 23-37 หมวด 2 การใช้แรงงานทั่วไป วันที่ลูกจ้างไม่สามารถทำงานได้เนื่องจากประสบอันตราย หรือเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นเนื่องจากการทำงานและวันลาเพื่อ คลอดบุตรตาม มาตรา
41 มิให้ถือเป็นวันลาป่วยตาม มาตรา นี้
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 23-37 หมวด 2 การใช้แรงงานทั่วไป
มาตรา 33 ให้ลูกจ้างมีสิทธิลาเพื่อทำหมันได้และมีสิทธิลา เนื่องจากการทำหมันตามระยะเวลาที่แพทย์แผนปัจจุบันชั้นหนึ่ง กำหนดและออกใบรับรอง
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 23-37 หมวด 2 การใช้แรงงานทั่วไป
มาตรา 34 ให้ลูกจ้างมีสิทธิลาเพื่อกิจธุระอันจำเป็นได้ ตามข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 23-37 หมวด 2 การใช้แรงงานทั่วไป
มาตรา 35 ให้ลูกจ้างมีสิทธิลาเพื่อรับราชการทหารในการ เรียกพลเพื่อตรวจสอบ เพื่อฝึกวิชาทหาร หรือเพื่อทดลองความ พรั่งพร้อมตามกฎหมายว่าด้วยการรับราชการทหาร
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 23-37 หมวด 2 การใช้แรงงานทั่วไป
มาตรา 36 ให้ลูกจ้างมีสิทธิลาเพื่อการฝึกอบรมหรือพัฒนา ความรู้ความสามารถตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดในกฎ กระทรวง
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 23-37 หมวด 2 การใช้แรงงานทั่วไป
มาตรา 37 ห้ามมิให้นายจ้างให้ลูกจ้างทำงานยก แบก หาม หาบ ทูน ลาก หรือเข็นของหนักเกินอัตราน้ำหนักตามที่ กำหนดในกฎกระทรวง
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 23-37 หมวด 2 การใช้แรงงานทั่วไป

อัพเดทล่าสุด