The Haunted Tiger
Sua Sming, The Haunted Tiger
In the eastern part of Thailand, people tell stories about sua sming (เสือสมิง...haunted tigers). When a tiger kills a man, people say that the tiger becomes hunted. This means that sometimes the tiger can change into a person. ติดตามเรื่องต่อข้างล่างนะค่ะ
การเล่านิทานเพื่อพัฒนากระบวนการคิด
เอนก รัศมีศึกษานิเทศก์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ลพบุรี เขต 1
นิทาน เป็นเรื่องเล่าที่ถ่ายทอดความคิด ความเชื่อ ประเพณี วัฒนธรรมตลอดจนคุณธรรม จริยธรรม อันเป็นกลวิธีการปลูกฝังความรู้สึกนึกคิดและแนวปฏิบัติที่สืบทอดจากคนรุ่นหนึ่งสู่คนอีกรุ่นหนึ่งมายาวนานนับพันปี ทุกชาติ ทุกภาษา ต่างมีนิทานประจำชาติหรือท้องถิ่นของคน นิทานที่ได้รับความนิยมและเผยแพร่อย่างกว้างขวาง มีหลายชุด เช่น นิทานอีสป นิทานเวตาล นิทานชาดก ฯลฯ
การใช้นิทานในการพัฒนากระบวนการคิด
แนวทางหนึ่งในการใช้นิทานพัฒนากระบวนการคิดของนักเรียนคือการกระตุ้นให้นักเรียนคิด โดยพัฒนากิจกรรมในการเล่านิทานและใช้คำถาม
ขั้นที่ 1 เลือกเรื่องตามความสนใจ
ให้นักเรียนเลือกโดยใช้เสียงส่วนมาก หรือจับฉลาก หรือถามความสนใจอ่าน อยากฟังนิทานเกี่ยวกับอะไร
ชั้นที่ 2 ฟังนิทาน
ฟังจากการเล่า การอ่าน หรือการฟังจากเทปบันทึกเสียง
ขั้นที่ 3 แสดงความคิดเห็น
-นักเรียนเลือกตัวละครหรือเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่งในนิทานที่นักเรียนประทับใจมากที่สุดไว้ พร้อมทั้งเหตุผลที่ประทับใจ
-แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับเพื่อน
-เข้ากลุ่มอภิปราย กลุ่มละประมาณ 5-7 คน เป็นการอภิปรายถึงลักษณะพฤติกรรมของตัวละครทุกตัวและเหตุการณ์ในนิทาน
ขั้นที่ 4 คิดมุมกลับ / คิดต่าง
กระตุ้นให้นักเรียนมีความคิดกว้างขวางขึ้นโดยใช้คำถามให้คิดย้อนคนละทางกับเหตุการณ์ในนิทาน เช่น กำหนดให้เหตุการณ์หรือพฤติกรรมของตัวละครต่างไปจากที่ปรากฏในนิทาน ให้นักเรียนร่วมกันคิดและให้เหตุผล
ขั้นที่ 5 สรุปผล
นักเรียนร่วมกันลงข้อสรุป พฤติกรรมและเหตุการณ์ที่ดี และที่ควรแก้ไขจากเรื่องในนิทานตลอดจนลงข้อสรุปสิ่งที่ควรนำไปปฏิบัติ
สิ่งที่สนับสนุนให้มีกระบวนการคิด คือ การผูกเรื่องและการใช้คำถามในการให้คิดคิดแก้ปัญหา
คิดหาเหตุผลตามเหตุการณ์และเหตุผลถ้าเหตุการณ์ไม่เป็นไปตามท้องเรื่อง
ที่มา : https://www.kroobannok.com/blog/16708
การสอนนิทานเหมาะสำหรับทุกช่วงชั้นขึ้นอยู่กับความยากง่ายของนิทาน แต่จะขอนำเสนอในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
เนื้อเรื่อง
One a big tiger lived near a village. He was very fierce and he killed many people. Even hunters were afraid of him. At last, the people in the village asked an old hunter to try to kill the tiger. They were afraid that the tiger might eat everyone in the village.
The old hunter got ready. He took his gun and some food. Then he left his wife and went into the forest. He went to the little pond where the tiger often drank water. He climbed a nearby tree and waited. On the second night the tiger came. The hunter tried to shoot the tiger, but he missed. The tiger saw the hunter but could not climb the tree. Finally, the tiger went away.
Early the next morning, the hunter saw his wife at the bottom of the tree. “I’m worried about you.” she said. “Come down from the tree and talk to me for a while.”
The old hunter threw his food down to his wife. He began to climb down the tree. Then he saw that his wife had the feet of a tiger.
He asked his wife to take his gun. When she reached for the gun, he shot her. She changed back into the big tiger and died. It was not his wife at all. It was really the haunted tiger, which has changed into a woman like the hunter’s wife.
Tasks of the students
After reading you can check your understanding from this direction.
Direction: Try to order the story about Suasming.
………1. He took his gun and some food. Then he left his wife and went into the forest.
………2. The hunter saw his wife at the bottom of the tree.
………3. One a big tiger lived near a village. He was very fierce and he killed many people.
………4. The old hunter threw his food down to his wife.
………5. The people in the village asked an old hunter to try to kill the tiger.
……….6. He began to climb down the tree. Then he saw that his wife had the feet of a tiger.
………7. He went to the little pond where the tiger often drank water.
………8. On the second night the tiger came. The hunter tried to shoot the tiger, but he missed.
………9. She changed back into the big tiger and died.
………10. He shot her.
ที่มา : https://www.sahavicha.com/?name=knowledge&file=readknowledge&id=3839