E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต


1,310 ผู้ชม


ชื่อวิทยาศาสตร์(SCIENTIFIC NAME) เป็นชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อให้ใช้เป็นหลักสากลเดียวกัน การเขียนหรือพิมพ์ชื่อวิทยาศาสตร์ ต้องให้แตกต่างจากข้อความทั่วไป โดยอาจพิมพ์ด้วยตัวเอง หรือ ขีดเส้นใต้ทั้งสองคำแยกจากกันคำนำหน้าเป็นชื่อจีนัส ขึ้นต้นด้วยอักษรตัวใหญ่ คำหลัง   

 ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต

       ชื่อสามัญ หมายถึง ชื่อที่ใช้เรียกสิ่งมีชีวิตในท้องถิ่นต่างๆไม่ว่าจะเป็นภาษาใดก็ตาม
       ชื่อวิทยาศาสตร์(SCIENTIFIC NAME) เป็นชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อให้ใช้เป็นหลักสากลเดียวกัน การเขียนหรือพิมพ์ชื่อวิทยาศาสตร์ ต้องให้แตกต่างจากข้อความทั่วไป โดยอาจพิมพ์ด้วยตัวเอง หรือ ขีดเส้นใต้ทั้งสองคำแยกจากกันคำนำหน้าเป็นชื่อจีนัส ขึ้นต้นด้วยอักษรตัวใหญ่ คำหลังขึ้นต้นด้วยอักษรตัวเล็กเป็นชื่อเฉพาะ ซึ่งอาจแสดงรูปพรรณสัญฐาน หรือที่มาเช่น Homo sapiens หรือ Taenia solium เป็นต้น
การจัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิต
       เรียงลำดับจากกลุ่มใหญ่ไปยังกลุ่มย่อยคือ

E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต

       สปีชีส์ หมายถึง หน่วยย่อยที่สุดในการจัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิตสปีชีส์เดียวกัน จะมีโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะต่างๆ เหมือนกันมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกันทางบรรพบุรุษ และ ที่สำคัญที่สุด คือ สามารถผสมพันธุ์กันได้ และลูกที่ได้จะต้องไม่เป็นหมัน
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
       วิทเทเคอร์ (R.H. WHITAKER) จำแนกสิ่งมีชีวิตออกเป็น 5 อาณาจักร คือ อาณาจักรสัตว์ อาณาจักรพืช อาณาฟังไจ อาณาจักรโปรติสตา และ อาณาจักรโมเนอรา
อาณาจักรสัตว์ (KINGDOM ANIMALIA) 
       สัตว์เป็นสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ ไม่มีคลอโรฟิลล์จึงไม่สามารถสร้างอาหารได้เอง และมีระยะตัวอ่อน (EMBRYO) สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรสัตว์แบ่งออกเป็นไฟลัมต่างๆดังนี้
1.     ไฟลัมพอริเฟอรา(PHYLUM PORIFERA)
สัตว์ที่ลำตัวเป็นรูพรุน ได้แก่ ฟองน้ำ
E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต

2.     ไฟลัมซีเลนเทอราตา(PHYLUM COELENTERATA)
สัตว์ที่มีลำตัวกลวง ระบบประสาทเป็นแบบร่างแหประสาท(NERVE NET) ได้แก่ แมงกะพรุน ดอกไม้ทะเล ปะการัง กัลปังหา และไฮดรา
E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต

3.     ไฟลัมแพลทิเฮลมินทิส(PHYLUM PLATYHELMINTHES)
หนอนตัวแบนเป็นสัตว์กลุ่มแรกที่มีเนื้อเยื่อ 3 ชั้น ได้แก่ พยาธิใบไม้ พยาธิตัวตืด และพลานาเรีย
E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต

4.     ไฟลัมนีมาโทดา(PHYLUM NEMATODA)
หนอนตัวกลม ไม่มีปล้อง เคลื่อนที่ด้วยการเอี้ยวตัวสลับกันไปมา ได้แก่ พยาธิตัวกลมต่างๆ เช่น พยาธิไส้เดือน ไส้เดือนฝอย และหนอนในน้ำส้มสายชู
E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต

5.     ไฟลัมแอนนิลิดา (PHYLUM ANNILIDA)
หนอนปล้องเป็นพวกแรกที่มีระบบเลือดแบบปิด ขับถ่ายโดยเนฟริเดียม (NEPRIDIUM) ได้แก่ ไส้เดือนดิน แม่เพรียง หากดูดเลือด และปลิงน้ำจืด

6.     ไฟลัมอาร์โทรโปดา (PHYLUM ARTHROPODA)
สัตว์ที่มีขาและรยางค์อื่นๆ ต่อกันเป็นข้อๆ เป็นสัตว์กลุ่มใหญ่ที่สุดในอาณาจักรสัตว์ ได้แก่ กุ้ง กั้ง ปู แมลง เห็บ ไร ตะขาบ กิ้งกือ แมงมุม แมงดาทะเล
E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต

7.     ไฟลัมมอลลัสกา(PHYLUM MOLLUSCA)
สัตว์ที่มีลำตัวอ่อนนุ่ม ได้แก่ หมึกและหอยชนิดต่างๆ
E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
8.     ไฟลัมเอไคโนเดอร์มาตา (PHYLUM ECHINODERMATA)
สัตว์ที่ผิวหนังมีหนามขุรขระ ได้แก่ ดาวทะเล เม่นทะเล เหรียญทะเล ปลิงทะเล ดาวเปราะ
E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต 
E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต ตัวอย่างข้อสอบ
สิ่งมีชีวิตพวกใดบ้างที่อาศัยอยู่ในทะเลทั้งหมด
1.     PORIFERA
2.     ECHINODERMATA
3.     MOLLUSCA
4.     COELENTERATA
ก.     เฉพาะข้อ 1.
ข.     เฉพาะข้อ 2.
ค.     ข้อ 1 และ ข้อ 2
ง.     ข้อ 3 และ ข้อ 4
ตอบ ข.
E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต

9.     ไฟลัมคอร์ดาตา (PHYLUM CHORDATA)
สัตว์ที่มีแกนกลางของร่างกายสัตว์ในไฟลัมนี้มีลักษณะร่วมกัน 3 ประการคือ
1.      มีแท่งโนโตคอร์ด(NOTOCHORD) อย่างน้อยชั่วระยะหนึ่งชองชีวิต
2.      มีไขสันหลังเป็นหลอดยาวอยู่ทางด้านหลัง
3.      มีอวัยวะสำหรับแลกเปลี่ยนก๊าซที่บริเวณคอหอย(หรืออาจเปลี่ยนแปลงไปเป็นอวัยวะอื่นเช่น ปอด)
สัตว์กลุ่มนี้แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่คือ
1.      PROTOCHORDATE เป็นสัตว์ทะเลทั้งสิ้น ไม่มีกระดูกสันหลัง แต่มีโนโตคอร์ดเป็นแกนกลางของร่างกายได้กี่เพรียงหัวหอม และ AMPHIOXUS

2.      VERTEBRATE ได้แก่สัตว์ที่มีกระดูกสันหลังทั้งหมด ได้แก่ 
- CLASS OSTEICTHYES ได้แก่ ปลากระดูกแข็ง เช่น ปลาหมอ ปลาช่อน ปลาทู ม้าน้ำ
E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต

- CLASS CHONDRICTHYES ได้แก่ ปลากระดูกอ่อน เช่น ปลาฉลาม ปลากระเบน
E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต

- CLASS AMPHIBIA ได้แก่สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ เช่นกบ ซาลามานเดอร์ งูดิน
E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต

- CLASS REPTLIA ได้แก่ สัตว์เลื้อยคลาน เช่นงู จระเข้ กิ้งก่า เต่า
E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต

- CLASS AVES ได้แก่ สัตว์ปีกต่างๆ เช่น นก เป็ด ไก่
E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต

- CLASS MAMMALIA ได้แก่ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม เช่น วาฬ โลมา ช้าง ม้า วัว ควาย คน ลิง
E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต

E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตข้อควรระวัง
ชื่อของสัตว์ที่นักเรียนมักสับสน

E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต

E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตตัวอย่างข้อสอบ
       ในแง่การจัดหมวดหมู่ระดับไฟลัม สัตว์ในข้อใดมีความหลากหลายที่สุด
ก.     ฟองน้ำ ซีแอนนีโมนี แมงกะพรุน ยุง พยาธิตัวตืด แมงมุม
ข.     กุ้ง กัลปังหา ปะการัง แมงดา ไส้เดือน เม่นทะเล
ค.     ตะขาบ ปลิงทะเล พยาธิใบไม้ ฟองน้ำ แมงมุม พยาธิแส้ม้า
ง.     ฟองน้ำ กัลปังหา พลานาเรีย ไส้เดือน ปู อีแปะทะเล
ตอบ ง.
อาณาจักรพืช (PLANT KINGDOM)
       พืช ประกอบด้วยเซลล์หลายเซลล์ ผนังเซลล์ประกอบด้วยเซลลูโลสมีคลอโรฟิลล์อยู่ในคลอโรพลาสต์สามารถสร้างอาหาร ได้เองโดยใช้พลังงานแสงสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรพืชแบ่งออกเป็นดิวิชั่นต่างๆดังนี้
1.     DIVISION BRYOPHYTA พืชที่ไม่มีระบบท่อลำเลียง ได้แก่ มอส และ ลิเวอร์เวิร์ต
E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต 
2.     DIVISION PSILOPHYTA หวายทะเล (PSILOTUM)
E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตE-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต 
3.     DIVISION LYCOPHYTA ช้องนามคลี่ และ ตีนตุ๊กแก
E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต 
4.     DIVISION SPHENOPHTYA หญ้าถอดปล้อง หรือ หญ้าหางม้า
5.     DIVISION PTEROPHYTA เฟิร์น เช่น แหนแดง จอกหูหนู ชายผ้าสีดา ย่านลิเภา เฟิร์นในมะขาม
E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตข้อควรจำ
       ลักษณะที่เด่นชัดที่สุดของเฟิร์น คือ ใบอ่อนจะม้วนเป็นวงคล้ายลานนาฬิกา (CIRCINATE VERNATION)
6.     DIVISION CONIFEROPHYTA สน เช่น สนสองใบ สนสามใบ
E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
7.     DIVISION CYCADOPHYTA ปรง
E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
8.     DIVISION GINKGOPHYTA แปะก๊วย (Ginkgo biloba)
E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตข้อควรจำ
       พืชพวกสน ปรง และ แป๊ะก๊วยมีเมล็ดที่ไม่มีรังไข่ห่อหุ้ม เรียกว่า STROBILUS หรือ CONE เรียกรวมกันว่า พวกจิมโนสเปิร์ม (GYMNOSPERM)
9.     DIVISION ANTHOPHYTA พืชมีดอก (ANGIOSPERM) มีมากกว่า พืชอื่นๆ รวมกันทั้งหมด เป็นพวกที่มีดอกเป็นอวัยวะสืบพันธุ์ เมล็ดมีรังไข่ห่อหุ้ม และมีการปฏิสนธิซ้อน แบ่งได้ดังนี้
-     SUBDIVISION MONOCOTYLEDONAE พืชใบเลี้ยงใบเดี่ยวเส้นของใบเรียงขนานกัน จำนวนกลีบดอกเป็น3 หรือ ทวีคูณของ 3 การจัดเรียงท่อน้ำอาหารในลำต้น กระจัดกระจาย ไม่เป็นระเบียบ
-     SUBDIVISION DICOTYLDONAE พืชใบเลี้ยงคู่มีใบเลี้ยงสองใบเส้นของใบสานกันเป็นร่างแห จำนวนกลีบดอกเป็น 4 หรือ 5 หรือ จำนวนที่เป็นทวีคูณของ 4 หรือ 5 การจัดเรียงท่อน้ำท่ออาหารเป็นระเบียบโดยมีท่ออาหารอยู่ภายนอก ท่อน้ำอยู่ภายใน
E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตข้อควรระวัง

E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต

อาณาจักรฟังใจ (KINGDOM FUNGI)
       เห็ดราและยีสต์มีลักษณะทั่วไปคล้ายกับพืชและโปรติสต์ ต่างกันตรงที่ไม่มีรงควัตถุเพื่อใช้ในการสังเคราะห์ด้วยแสง ส่วนใหญ่จึงดำรงชีพ โดยเป็นผู้ย่อยสลายอินทรีย์สาร ประกอบด้วยกลุ่มของเซลล์ ซึ่งมีลักษณะเป็นเส้นใยเรียกว่า (HYPHA) ซึ่งเจริญมาจากสปอร์ กลุ่มของไฮฟา เรียกว่าไมซีเลียม(MYCELIUM) โดยมีไรซอยด์ช่วยยึด ไฮฟาติดกับแหล่งที่อยู่
ราแยกเป็นกลุ่มต่างๆดังนี้
1.     DIVISION ZYGOMYCOTA ราดำ(Rhizopus sp.)ที่ขึ้นบนขนมปัง
2.     DIVISION ASCOMYCOTA ยีสต์ (Saccharocyces sp.) และราสีแดง(Monascus sp.)
3.     DIVISION BASIDIOMYCOTA เห็ดชนิดต่างๆ ตัวอย่างเช่น เห็ดฟาง เห็ดหอม และราสนิม
4.     DIVISION DEUTEROMYCOTA ราสีเขียว (Penicillium sp.) ที่ใช้ในการผลิตยาเพนิซิลิน เราใช้ในการผลิตกรดซิตริก (Aspergillus niger) เป็นต้น
E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตข้อสังเกต
       นักชีววิทยาแยกเห็ดรา ออกมาจากอาณาจักรโปรติสตาเนื่องจากมีข้อแตกต่างกันหลายประการ เช่น รูปแบบของการหาอาหารของสิ่งมีชีวิต
E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต ตัวอย่างข้อสอบ
         ลักษณะสำคัญที่สุดที่ทำให้จัดราแยกโปรติสต์คือ
ก.     มีหลายเซลล์
ข.     สังเคราะห์แสงไม่ได้
ค.     ไม่มีระยะต้นอ่อน
ง.     เซลล์ไม่มีความซับซ้อน
ตอบ ข.
อาณาจักรโปรติสตา (PROTISTA KINGDOM)
       โปรติสต์ เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีโครงสร้างไม่ซับซ้อน ประกอบด้วยเซลล์ชนิดยูคาริโอติกเซลล์โดยอาจประกอบด้วยเซลล์เดียว หรือ หลายเซลล์ที่มิได้รวมกันเป็นเนื้อเยื่อ สามารถทำหน้าที่ของสิ่งมีชีวิตได้ครบถ้วนในเซลล์เดียว
1.     ไฟลัมโปรโตซัว (PHYLUMPROTOZOA) อะมีบา พารามีเซียม ยูกลีนส พลาสโมเดียม
2.     ไฟลัมคลอโรไฟตา (PHYLUM CHLOROPHYTA) สาหร่ายสีเขียวเช่น สไปโรไจนา (Spirogyra sp.) และ คลอเรลลา(Chlorella sp.) ซึ่งเป็นอาหารที่มีโปรตีนสูงเป็นโปรติสต์กลุ่มใหญ่ที่สุด
3.     ไฟลัมคริโซไฟตา (PHYLUM CHRYSOPHYTA) สาหร่ายสีน้ำตาล แกมเหลือง ได้แก่ ไดอะตอม
4.     ไฟลัมฟีโอไฟตา (PHYLUM PHAEOPHYTA) สาหร่ายสีน้ำตาล เช่น เคลป์(KELP) มีขนาดใหญ่ สาหร่ายที่สำคัญ ได้แก่ Laminaria sp. และ สาหร่ายทุ่น (Sargassum sp.)
5.     ไฟลัมโรโดไฟตา (PHYLUM RHODOPHYTA) สาหร่ายสีแดง เช่น จีฉ่าย (Prophyra sp.) และ Gracilaria sp.
6.     ไฟลัมมิกไซไมโคไฟตา(PHYLUM MYXOMYCOPHYTA) ราเมือก(SLIME MOLD) เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะร่วมกันระหว่างพืชและสัตว์ ส่วนใหญ่จะดำรงชีพเป็นผู้ย่อยสลาย
E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต ข้อสังเกต
       การจำแนกสาหร่ายออกเป็นดิวิชั่นต่างๆ จะใช้ชนิดของรงควัตถุที่ใช้ในการสังเคราะห์แสดงเป็นหลักเกณฑ์ที่สำคัญ
E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต ตัวอย่างข้อสอบ
       เซลล์ของยูกลีนาแตกต่างจากเซลล์ของสาหร่ายทั่วไปในข้อใด
1.     ไม่มี CELL WALL
2.     มี CONTRACTILE VACUOLE
3.     มี PHOTOSYNTHETIC PIGMENTS แบบเดียวกับสาหร่ายเกลียวทอง
4.     สามารถดำรงชีวิตแบบ HETEROTYPE ได้
ก.     1,2
ข.     2,3,4
ค.     1,2,3
ง.     1,2,4
ตอบ ง.
อาณาจักรโมเนอรา (KINGDOM MONERA)
       สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรนี้เป็นพวกที่มีเซลล์เป็นแบบโปรคาริโอติกเซลล์
1.     ไฟลัมชิโซไมโคไฟตา (PHYLUM SCHIZOMYCOPHYTA) แบคทีเรียเป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว เซลล์ของแบคทีเรียมีผนังเซลล์ซึ่งเป็นพวกคาร์โบไฮเดรตและกรดอะมิโน บางชนิดมีแคปซูลเป็นสารเมือกหุ้มอยู่ เพื่อป้องกันอันตรายแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือรูปร่างกลม(COCCUS) รูปร่างเป็นท่อน(BACILLUS) และพวกที่มีรูปร่างเป็นเกลียว(SPIRILLUM)
2.     ไฟลัมไซยาโนไฟตา (PHYLUM CYANOPHYTA) สาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน(BLUE GREEN ALGAE) เช่น Oscillatoria Sp.,Spirulina Sp.,Anabaena Sp. เป็นต้น
ไวรัส
       เป็นสิ่งที่มีชีวิตขนาดเล็กมาก มองไม่เห็นได้ด้วยกล้องจุลทรรศน์ธรรมดาไม่มีคุณสมบัติประการอื่นของสิ่งมีชีวิต นอกจากความสามารถในการสืบพันธุ์ด้วยการจำลองด้วยตัวเอง (DUPLICATION) ภายในเซลล์ของผู้ถูกอาศัย(HOST) ไวรัสประกอบด้วย DNA หรือ RNA และเปลือกหุ้มที่เป็นโปรตีนไวรัสบางชนิดอาจมีสารอื่น นอกเหนือจากนี้
 E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตข้อควรจำ
       โรคที่เกิดจากสิ่งมีชีวิตประเภทต่างๆ

E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต

E-learning ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต ตัวอย่างข้อสอบ
       โรคในข้อใดที่มีสาเหตุมาจากไวรัส แบคทีเรีย โปรโทรซัว และ เชื้อราตามลำดับ
ก.     โรคพิษสุนัขบ้า กลาก คอตีบ มาเลเรีย
ข.     ไข้หวัดใหญ่ วัณโรค ไข้มาลาเรีย กลาก
ค.     งูสวัด ตับอักเสบ ปอดบวม ไอกรน
ง.     โรคเอดส์ บาดทะยัก ไส้ติ่งอักเสบ โรคเรื้อน
ตอบ ข.
       สิ่งมีชีวิตในข้อใดที่กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ไม่ได้ เกิดขึ้นในคลอโรพลาสต์
ก.     สาหร่ายสีน้ำตาล
ข.     สาหร่ายสีแดง
ค.    ไซยาโนแบคทีเรีย
ง.     ไดอะตอม
ตอบ ค.

     

แหล่งที่มา ของข้อมูล

thaigoodview.com Version 13.0
e-mail: 
[email protected]
ที่มา : https://www.sahavicha.com/?name=knowledge&file=readknowledge&id=1624

อัพเดทล่าสุด