กระทำผิดวินัยฐานรายงานเท็จต่อผู้บังคับบัญชาไม่รักษาผลประโยชน์ของนายจ้างและไม่ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต
การเลิกจ้างจะเป็นธรรมหรือไม่ ต้องพิจารณาถึงสาเหตุแห่งการเลิกจ้างเป็นประการสำคัญ
คำสั่งของผู้บังคับบัญชา ถือว่าเป็นการกลั่นแกล้ง !
มีวันหยุดพักผ่อนประจำปีเหลืออยู่เท่าใด ก็ให้ขออนุญาตหยุดเสียก่อนที่จะ "เกษียณอายุ"
ไม่ยอมจ่ายค่าชดเชยให้ลูกจ้าง
คำสั่งเลิกจ้าง กับ พฤติการณ์ปฏิบัติหน้าที่ไม่สุจริต
ใช้งานผิดหน้าที่ หัวหน้างาน พึงระวัง !
หนังสือบอกกล่าวเลิกจ้าง ลูกจ้างและมีกำหนดจ่ายค่าจ้างกันก่อนวันสิ้นเดือนของทุกเดือน
หนังสือตักเตือน กับ การกระทำผิดวินัยเกี่ยวกับการทำงาน
ลดตำแหน่ง หัวหน้าพนักงานขายระดับ 6 เป็นพนักงานขาย ระดับ 5
พนักงานของโรงแรม มีชู้กับพนักงานชายซึ่งเป็นช่างประจำโรงแรม
การขาดงาน ถือเป็นการละทิ้งหน้าที่โดยไม่มีเหตุผลที่สมควร
ลูกจ้างขออนุญาตผู้บังคับบัญชาออกนอกสถานที่ ผู้บังคับบัญชาสั่งให้ลูกจ้างยื่นใบลาครึ่งวัน
จ่ายเงินโบนัสประจำปีให้แก่พนักงานภายในสิ้นปี กับ การเลิกจ้างพนักงาน
ค่าล่วงเวลาและเบี้ยขยัน ไม่เป็นรายได้ของพนักงานที่จะนำมารวมเป็นหลักฐานคำนวณเงินโบนัส
เลิกจ้างพนักงานที่ฝ่าฝืนข้อบังคับหรือระเบียบวินัยการทำงานกรณีร้ายแรงได้ทันที โดยไม่ต้องจ่ายค่าชดเชย
อาศัยอำนาจหน้าที่ ชักชวนพนักงานหญิงที่อยู่ภายใต้บังคับบัญชา ออกไปเที่ยวเตร่
ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การคุ้มครองแรงงาน ข้อ 47 (3)
คำสั่งของนายจ้างที่ลงโทษและภาคทัณฑ์ หากลูกจ้างกระทำผิดวินัยข้อใดอีก นายจ้างจะเลิกจ้างโดยไม่จ่ายค่าชดเชย
ลูกจ้าง ถูกบีบบังคับ ข่มขู่ ให้เซ็นใบลาออก ??
นายจ้างเลิกจ้างลูกจ้าง อันเป็นการกระทำอันไม่เป็นธรรม
มีคำสั่งยกเลิกตำแหน่งและไม่ยินยอมปฏิบัติตามคำสั่ง ???
ลูกจ้าง ลาป่วยและมาทำงานสายเป็นจำนวนมาก ต้องจ่ายค่าชดเชย ??
ลูกจ้างไม่สนใจในการประชุม เข้าประชุมสาย ละทิ้งหน้าที่กลับก่อนเวลา ...
พนักงานรักษาความปลอดภัย หน้าที่ประการหนึ่งคือการระมัดระวังมิให้สินค้าของจำเลยสูญหาย
หนังสือเลิกจ้าง มิได้ระบุสาเหตุไว้โดยตรงว่าละทิ้งหน้าที่เป็นเวลาสามวันทำงาน ติดต่อกันโดยไม่มีเหตุอันสมควร
กระทำอนาจาร เป็นเพียงการกระทำความผิดในทางอาญาและเป็นการกระทำโดยส่วนตัว
นายจ้างจะเลิกจ้างลูกจ้างซึ่งเป็นกรรมการลูกจ้าง !!!
นายจ้างไม่ต้องจ่ายค่าชดเชยเมื่อเลิกจ้างลูกจ้างเพราะเหตุสุดวิสัย